Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1017
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงฤทัย ศรีแดง | - |
dc.contributor.author | อาทิตยา คำมามุง | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-01T05:53:11Z | - |
dc.date.available | 2022-06-01T05:53:11Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1017 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยการนำวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้กับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เรื่องปฏิกิริยาเคมี เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เรื่องปฏิกิริยาเคมี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 2 ห้อง รวม 63 คน ที่ได้มาจากการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้เครื่องมือในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องปฏิกิริยาเคมี จำนวน 3 แผน แบบบันทึกภาคสนาม แบบสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้วิธี t-test แบบ Dependent Samples ซึ่งผลการวิจัยพบว่า การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เรื่องปฏิกิริยาเคมี ทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน สามารถเชื่อมโยงความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรม และเทคโนโลยี ผ่านปฏิบัติการเคมี นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองทำให้เข้าใจเนื้อหาวิชาได้ดีขึ้น ส่งผลให้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัย | en_US |
dc.subject | วิจัยเชิงปฏิบัติการ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | เคมี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัย. | en_US |
dc.title | การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีเรื่องปฏิกิริยาเคมีและการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | The study of learning achievement in chemistry on chemical reaction and critical thinking for matthayomsueksa 4 based learning on stem education | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purposes of this action research were to study the learning activities based on the STEM Education in chemistry by focusing on the chemical reaction to improve students’achievement and to develop their critical thinking ability. The sample group of this research was purposive sampling which contains 63 students in Mattayomsuksa 4th at the large government school in Pathumthani province during the first semester in academic year 2017. The research instruments composed of 3 lesson plans on the chemical reactions, field notes, student questionnaires, learning achievement test and critical thinking ability test. The data were analyzed by the values of mean, standard deviation and t-test dependent group. The learning management of the STEM Education on this chemical reaction improved the student activities and the corporation of science, technology, engineering, and mathematics through chemical experiments. Students could participate in activities and practiced by themselves for better understanding. The post-test scores on learning achievement and critical thinking ability were significant higher than the pre-test scores at the 0.01 level. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ARTITAYA KHAMMAMUNG.pdf | 2.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.