Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1020
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรานอม ขาวเมฆ-
dc.contributor.authorสุทธิดา วิกรัยบูรณ์-
dc.date.accessioned2022-06-01T06:28:20Z-
dc.date.available2022-06-01T06:28:20Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1020-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก โดยการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบาย ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยมีกลุ่มตัวอย่างจานวน 41 คน โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบาย ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD วิชาเคมี เรื่อง พันธะไอออนิก แบบทดสอบวัดแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์และบันทึกหลังการสอน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยการใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยวิธี t-Test แบบ Dependent Samples และข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการจัดกลุ่มแนวความคิด ผลการวิจัย พบว่าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบทานาย-สังเกต-อธิบายร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD นักเรียนส่วนใหญ่ ร้อยละ 51.63 ยังไม่มีแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ แต่หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว พบว่า นักเรียนมีแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยนักเรียนที่ไม่มีแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ลดลงเป็นร้อยละ 15.10 นอกจากนี้ยังพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 จากการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบทานาย-สังเกต-อธิบาย ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD สามารถช่วยส่งเสริมการพัฒนาแนวความคิดวิทยาศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง พันธะไอออนิกได้en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectแนวคิดวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.titleการพัฒนาแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะไอออนิก โดยการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบายร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STADen_US
dc.title.alternativeThe scientific concept development of mattayomsuksa 4th students on ionic bond using predict-observe-explain with the STAD-cooperative learning methoden_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe aims of this research were to develop of scientific concepts, student’s achievement and study instruction guidelines on ionic bond using Predict-Observe-Explain with the STAD-Cooperative Learning Method for 41 students in Mattayomsuksa 4th. The instruments using in this research were the lesson plans, the scientific concept test and field note. The quantitative data were analyzed using mean, standard deviation and t-test dependent group and the qualitative data were analyzed by idea classified. The result showed that before using the method, the most students had up to 51.63% no understanding in the formation of ionic bond then after using the method the major of students have no understanding decreased to 15.10%. Moreover, the students mean score of the post-test achievement was higher than the pre-test mean score at the significant level of .05. This indicated that Predict-Observe-Explain with the STAD-Cooperative Learning Method can improve scientific concepts and students’ achievement on the ionic bonden_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUTTIDA WIGRAIBOON.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.