Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1028
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วศิณ ชูประยูร | - |
dc.contributor.author | พัชรินทร์ ขาวรุ่งเรือง | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-01T07:38:18Z | - |
dc.date.available | 2022-06-01T07:38:18Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1028 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความรอบรู้ สภาพปัญหา ปัจจัยการจัดการความรู้ และแนวทางการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยรังสิตผ่านมุมมองบุคลากร 2) อิทธิพลของปัจ จัยการจัดการความรู้ ต่อสภาพปัญหา แนวทางการจัดการความรู้ และระดับความรอบรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยรังสิต 3) ความแตกต่างของระดับความรอบรู้ เกี่ยวกับการจัดการความรู้ของบุคลากรในมหาวิทยาลัยรังสิตจาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน และกลุ่มหน่วยงานที่สังกัด และ 4) พัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ที่เหมาะสมกับกรณีแวดล้อมมหาวิทยาลัยรังสิต เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ทฤษฎีที่เป็นฐานในการวิจัย คือ ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล โดยมีอาจารย์และเจ้าหน้าที่ในมหาวิทยาลัยรังสิตเป็นกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย จำนวน 323 คน ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา 285 ชุด ( 88.24%) สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยร้อยละ การกระจายของข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ t สถิติทดสอบ F (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรในมหาวิทยาลัยรังสิตมีความรอบรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้อยู่ในระดับมาก ประสบปัญ หาการจัดการความรู้ในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นในภาพรวมเกี่ยวกับปัจ จัยการจัดการความรู้ในระดับค่อนข้างมาก โดยมีปัจ จัยด้านเทคโนโลยีที่สนับสนุนการทางานร่วมกันอยู่ในระดับปานกลางและ ปัจจัยด้านการจัดการความรู้มีอิทธิพลต่อสภาพปัญหาการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยรังสิต (R2=.364) ทั้งนี้ ปัจจัยการจัดการความรู้มีอิทธิพลต่อแนวทางการจัดการความรู้ที่เหมาะสมทั้ง 12 ด้าน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 เช่น ด้านการสร้างทีมพเี่ ลี้ยงเพื่อให้ความช่วยเหลือหรือให้คาแนะนาในการจัดการความรู้ระดับหน่วยงาน (R2=.607) รองลงมาคือ ด้านการจัดทาสื่อมัลติมีเดียเพื่อให้บุคลากรได้รับทราบนโยบาย เป้าหมายและแผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ขององค์กร เรียนรู้แนวทางการจัดการ ความรู้ที่เป็นรูปธรรม (R2=.537) นอกจากนี้ผลการทดสอบสมมติฐานยังชี้ว่าปัจ จัยสภาพปัญ หาการจัดการความรู้ใน มหาวิทยาลัยรังสิตมีอิทธิพลต่อระดับความรอบรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ (R2=.108) ในขณะที่ เพศ ระดับการศึกษา อายุการทา งานในมหาวิทยาลัยรังสิต และกลุ่มหน่วยงานที่สังกัด ที่แตกต่าง กัน มีความรอบรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ไม่แตกต่างกัน ส่วนอายุ ที่แตกต่างกันมีระดับความ รอบรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยรังสิต -- การจัดการความรู้ | en_US |
dc.subject | การจัดการความรู้ -- สถานศึกษา | en_US |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | en_US |
dc.title | การศึกษาเชิงประจักษ์เกี่ยวกับความรอบรู้ สภาพปัญหา ปัจจัยที่มีอิทธิพลและแนวทางการจัดการความรู้ที่เหมาะสมตามกรณีแวดล้อม มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | An empirical study of understandings, obstacles, influential factors, and appropriate approaches in knowledge management based on Rangsit University circumstances | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this thesis were to study 1) knowledge management (KM) understanding levels, obstacles, factors, and approaches via Rangsit University personnel perspectives, 2) influence of KM factors toward the obstacles, approaches, and understanding levels, 3) different KM understanding levels discriminated by gender, age, educational level, working experience, and affiliated unit, and 4) develop appropriate KM approaches regarding Rangsit University circumstances. This study was a quantitative research using KM principles as fundamental of research framework development. Questionnaires were used for gathering data from 323 faculties and staff. 285 respondents completed and returned the questionnaires (88.24%). Statistics used for analysing data from the returned questionnaires were percentage, distribution of information, mean, standard deviation, t-test, F-test (One-Way ANOVA) and multiple regression Analysis. The study resulted that most respondents had high KM understandings; moderately encountered with KM problems; totally highly agree with the KM factors; technology factors supporting working collaboration and KM factors moderately influenced the KM (R2 = .364). The KM factors influenced the 12 appropriate approaches in KM at statistical significance level .05. For example, teamwork mentors assisting/advising the KM in each unit (R2 = .607); multi-media preparation for disseminating KM policies, goals, and strategic plan across the enterprise wide; and learning best practices of KM approaches (R2 =. 537). The hypothesis test found that the obstacle factors influenced the understanding levels (R2 = .108). Different respondent gender, educational level, working experience, and the affiliated unit had the same understanding level on the KM. The respondents with different age had different KM understanding levels at statistical significance level .05 | en_US |
dc.description.degree-name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
Appears in Collections: | ICT-ITM-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PATCHARIN KNOWRUNGRUANG.pdf | 6.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.