Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1037
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอนก เหล่าธรรมทัศน์, จิดาภา ถิรศิรกุล-
dc.contributor.authorสุพัฒพงศ์ แย้มอิ่ม-
dc.date.accessioned2022-06-02T02:22:00Z-
dc.date.available2022-06-02T02:22:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1037-
dc.descriptionดุุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560en_US
dc.description.abstractการบริหารฟื้นฟูคลองสาธารณะในกรุงเทพมหานครเป็นการพัฒนาเมืองในแนวทาง ที่มุ่งจัดโครงสร้างระบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพของเมืองโดยผ่านทางกระบวนการกําหนด นโยบายสาธารณะการศึกษาความเป็นหุ้นส่วนนโยบายสาธารณะในการบริหารฟื้นฟูคลองสาธารณะ ในกรุงเทพมหานครมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายรูปแบบนโยบายสาธารณะในมิติการพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานครในแบบเป็นหุ้นส่วนกัน โดยสะท้อนจากบทบาทความสัมพันธ์ของตัวแสดง ที่เกี่ยวข้องในนโยบายทั้งหมด ใช้วิธีการศึกษาแบบเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ผลการศึกษาพบว่า นโยบายสาธารณะ การบริหารฟื้นฟูคลองสาธารณะในกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายการพัฒนาเมืองที่เกิดจาก การตัดสินใจของรัฐบาล เน้นการนําไปปฏิบัติอย่างเป็นกระบวนการขั้นตอน (Procedural) ซึ่งได้ กําหนดมาตรการแนวทางไว้แล้ว โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนนโยบายในบทบาทผู้จัดการนโยบาย (Policy Entrepreneurs) มีหน่วยงานผู้รับผิดชอบนํานโยบายไปปฏิบัติตามข้อสั่งการของรัฐบาล อาศัยการมีส่วนร่วม (Participation) ทั้งระหว่างหน่วยงานด้วยกัน และกลุ่มประชาชนผู้ได้รับ ผลกระทบจากนโยบาย รวมถึงผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ตัวแสดงในนโยบายทั้งหมด จึงมีบทบาท ความสัมพันธ์เชื่อมโยงในความร่วมมือแบบเป็นหุ้นส่วนนโยบาย (Policy Partnership) สําหรับ ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะแบบเป็นหุ้นส่วนนโยบาย ควรกําหนด ยุทธศาสตร์การนํานโยบายไปปฏิบัติของแต่ละหน่วยงานผู้รับผิดชอบนโยบาย และคํานึงถึงปัจจัย ที่ส่งผลกระทบต่อหน่วยงานในทางเพิ่มประสิทธิภาพและเป็นอุปสรรคต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ นโยบายen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการพัฒนาเมือง -- ไทย (กรุงเทพฯ)en_US
dc.subjectนโยบายสาธารณะ -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.subjectคลอง -- ไทย -- กรุงเทพมหานครen_US
dc.titleความเป็นหุ้นส่วนนโยบายสาธารณะในการบริหารฟื้นฟูคลองสาธารณะในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativePublic policy partnership on canal rehabilittion management of the Bangkok Metropolitan admininistrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractPublic canal rehabilitation administration in Bangkok Metropolitan Administration was the urban development in order to structure the physical environment of the city through the public policy process, education, public policy partnership in of public canal rehabilitation in Bangkok Metropolitan Administration, describe the public policy model in urban development in Bangkok Metropolitan Administration as a partnership reflecting on the relative role of actors involved in all policies use qualitative methods of study, in-depth interview and participatory observation. The study indicated that public policy public canal rehabilitation administration in Bangkok Metropolitan Administration is a policy of city development that results from government decisions. It is a procedural process that has already set a guideline. The government provides policy support in the role of policy-makers (Policy entrepreneurs). There was an agency responsible for implementing policies in compliance with government mandates participation between the agencies and people affected from the policy including other related parties, show all policies it has a linking role in the policy partnership as a guideline for the development of a public policy partnership process, should be strategic policy implementation of each agency responsible, and consider to account factors that affect the agency in a way that increases efficiency and obstacle the achievement of policy objectivesen_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUPATPONG YAMIM.pdf8.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.