Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1053
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวศิณ ชูประยูร-
dc.contributor.authorวิไล สุนทรวุฒินันท์-
dc.date.accessioned2022-06-05T05:08:19Z-
dc.date.available2022-06-05T05:08:19Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1053-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการกํากับดูแล กระบวนการบริหาร จัดการ และกระบวนการการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศตามมาตรฐานกรอบการทํางาน COBIT® 5 และ ITIL v3 ที่มีอิทธิพลต่อผลประโยชน์ที่ได้รับและความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียของบริษัทมหาชน ในประเทศไทย ในมุมมองด้านการเงิน ลูกค้า กระบวนการทํางาน ภายในองค์กร และมุมมองการเรียนรู้และการเติบโต ภายใต้ความเสี่ยงที่ยอมรับได้และการใช้ ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า 2) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการกํากับดูแล การบริหารจัดการ และการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ออธิบายเส้นทางอิทธิพลของมุมมองในการวัดผลงานเชิง ดุลยภาพ (Balance Scorecard- BSC) และขั้นตอนการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลทั้งทางตรงและ ทางอ้อมต่อผลประโยชน์ที่ได้รับและความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทมหาชน ใน ประเทศไทย และ 3) พัฒนารูปแบบมาตรฐานโมเดลสมการโครงสร้างที่เหมาะสมของการกํากับ ตูแล การบริหารจัดการ และการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศของบริษัทมหาชน ในประเทศไทยที่ สอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structure Equation Modeling Analysis) เป็นเครื่องมือในการพัฒ นา และทดสอบความ เหมาะสมของโมเดล ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสํารวจความคิดเห็น ของผู้บริหารระดับสูงด้านสารสนเทศ (CIO) ผู้บริหาร/ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ และพนักงานที่ เกี่ยวข้องกับการกํากับดูแล การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศของบริษัทมหาชน ที่มีทุนจด ทะเบียนเกิน 100 ล้านบาท จํานวน 50 บริษัท ผลการวิจัยชี้ว่า โมเดลดังกล่าวมีความเหมาะสมสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กล่าวคือ ค่า Goodness-of-fit indices ของแต่ละโมเดลสามารถอธิบายถึงค่าความแปรปรวนของ ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการกํากับดูแลและการบริหารจัดการได้ร้อยละ 80 และ 81 (R = 0.80 และ 0.81 ตามลําดับ) และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการรับบริการเทคโนโลยี สารสนเทศมีค่าร้อยละ 92 (R = 0.92) อธิบายได้ว่ากระบวนการกํากับดูแล การบริหารจัดการ และการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศมีอิทธิพลต่อผลประโยชน์ที่ได้รับและสร้างความพึงพอใจแก่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทมหาชนในระดับสูงen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการกำกับดูแลกิจการ -- วิจัยen_US
dc.subjectแบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุen_US
dc.subjectการบริหารจัดการen_US
dc.subjectบริษัทมหาชน -- การใช้เทคโนโลยีen_US
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของอิทธิพลด้านการกำกับดูแล การบริหารจัดการ และการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในบริษัทมหาชนในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeA development of causal Relationship models of the Influence of Information Technology Governance, management, and Services in Thai public companiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this thesis are to 1) study the influence of IT governance (ITG), IT management (ITM), and IT service (ITS) based on COBIT® 5 and ITIL® V3 frameworks to the received benefits by Thai public companies and its stakeholder satisfaction in balance scorecard perspectives (finance, customer, internal process, and learning and growth) within acceptable risks and optimal resource uses; 2) model causal relationships of ITG, ITM, and ITS, which were used to describe direct and indirect influence paths of BSC perspectives and ITM processes to the receivable benefits and satisfactions; 3) develop structural equation models. SEM technique was used to develop and test model fit of the ITG, ITM, and ITS. Questionnaires were used to gather data from the company board members, executives, CEOs, CIOs, auditors, managerial teams, and staffs, who concerned with the ITG, ITM, and ITS of the top 50 Thai public companies which have registered capital over 100 million Baht. The study discovered three models which consisted of empirical data with goodness-of-fit indices of each model. The fit indices explain the variance values of the benefits received from the ITG and ITM at 80% and 81% (R2 = 0.80 and 0.81 respectively); and stakeholder satisfactions were at 92% (R2 = 0.92). These findings explain the ITG, ITM and ITS processes highly influence the receivable benefits and stakeholder satisfaction of the Thai public companies in Thailand.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
Appears in Collections:ICT-IT-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WILAI SUNTHONWUTINUN.pdf7.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.