Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1057
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ญาดา กาศยปนันทน์ | - |
dc.contributor.author | นันฐกานต์ ดีมีศรีเธียร | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-10T06:50:57Z | - |
dc.date.available | 2022-06-10T06:50:57Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1057 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (สาขาวิชานิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการประเมินผล การปฏิบัติงานที่เป็นธรรมกับลูกจ้าง โดยเฉพาะกรณีการเลิกจ้างอันมีสาเหตุมาจากการประเมินผล การปฏิบัติงาน เนื่องจากสถานประกอบการหรือนายจ้างต่างให้ความสำคัญเกี่ยวกับการประเมินผล การปฏิบัติงาน และนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการวัดคุณภาพ ตรวจสอบผลงาน การกำหนดการจ่าย ค่าตอบแทน การปรับเลื่อนตำแหน่ง การวางแผนเพื่อพัฒนาอบรมแรงงานของตนด้วย จนบางครั้ง อาจก่อให้เกิดข้อพิพาทเป็นคดีแรงงานเกี่ยวกับการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม โดยวิทยานิพนธ์เล่มนี้จะ ศึกษาและวิเคราะห์กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน กรอบบรรทัดฐานการ พิจารณาเงื่อนไขการเลิกจ้างเกณฑ์การออกแบบการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพในทางปฏิบัติและ เป็นธรรมทั้งแก่นายจ้างและลูกจ้าง รวมทั้งกฎองค์กรวิชาชีพต่างๆ จากผลการวิจัย ผู้วิจัยได้เสนอให้เพิ่มเติมกฎหมายแรงงานของไทยในส่วนของการเลิกจ้าง อันมีสาเหตุมาจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยเห็นควรกำหนดให้มีการตรากฎหมายระดับ รอง เช่น กฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวง ขึ้นมา ซึ่งเป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการกำหนดกฎเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติงานที่เป็นธรรม สำหรับใช้เป็นกฎเกณฑ์หรือบรรทัดฐานขั้นต่ำที่มีความ เป็นธรรม และให้กำหนดเงื่อนไขการออกแบบการประเมินที่สามารถดำเนินการตรวจสอบได้ไว้ใน กฎหมายฉบับนี้ด้วย | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม | en_US |
dc.subject | กฎหมายแรงงาน -- ไทย | en_US |
dc.subject | ลูกจ้าง -- การประเมินศักยภาพ -- วิจัย | en_US |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เป็นธรรมกับลูกจ้าง | en_US |
dc.title.alternative | Legal measures ensuring fair appraisals of performance for employees | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This thesis aims to study legal measures regarding the fair performance evaluation of employees. Especially in case of termination due to performance appraisal. Because businesses or employers value performance evaluation. And used as a tool to measure the quality of work. Scaling planning to develop their workforce training based on the research results. The researcher proposed additional Thai labor laws in terms of dismissal due to performance appraisal. As a rule, secondary legislation, such as ministerial regulations or ministerial announcements, should be enacted, which is a law that regulates fair evaluation. For use as a norm or minimum norm with fairness. And designate evaluation criteria that can be verified in this law. | en_US |
dc.description.degree-name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NANTHAKAN DIMISRITHEAN.pdf | 4.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.