Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรวรัญช์ องคสิงห, กนกรัตน์ ยศไกร-
dc.contributor.authorเสรี ทองมาก-
dc.date.accessioned2022-06-16T07:52:26Z-
dc.date.available2022-06-16T07:52:26Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1066-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร. ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเชิงคุณภาพนี้เพื่อศึกษารูปแบบและประสบการณ์ความเหลื่อมล้ำ ศึกษาและ วิเคราะห์รูปแบบการต่อสู้ขัดขืน ศึกษาและวิเคราะห์การก่อตัวและการสร้างนวัตกรรมสังคมเพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิตโดยคนสองถิ่น ตามแนวชายแดนไทย-พม่า จังหวัดกาญจนบุรี ใช้วิธีวิทยาแนว ปรากฏการณ์วิทยา ผ่านการวิเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์ข้อมูลในสนาม จากผู้ให้ข้อมูลหลักที่ เป็นคนสองถิ่น องค์กรประชาสังคม หน่วยงานของรัฐ ผู้นำชุมชนและประชากรไทย ในพื้นที่อำเภอ สังขละบุรีและอำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี จากการศึกษาพบว่าคนสองถิ่นต้องพบกับความ เหลื่อมล้ำที่แสดงออกผ่านการกีดกัน การปิ ดกั้น ทัศนคติทางลบ และการไม่นับรวม กลุ่มผู้ให้ข้อมูล หลักมีสำนึกร่วมต่อความยากลำบากและเกิดวัตถุประสงค์ร่วมเพื่อการมีชีวิตที่ดีขึ้น ในขณะเดียวกัน ก็มีการต่อสู้ขัดขืนที่แสดงออกผ่านการสยบยอม การปกปิดอัตลักษณ์และความรู้สึก การสร้างอัต ลักษณ์ใหม่เพื่อให้เกิดความกลมกลืนการผลิตซ้ำความรุนแรงทางสัญลักษณ์ พบว่า ในส่วนของ รูปแบบนวัตกรรมสังคมที่สร้างขึ้น ได้แก่ การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์และสินเชื่อขนาดเล็ก อาสาสมัคร สาธารณสุข กิจกรรมด้านศาสนาและวัฒนธรรม เป็นทุนทางสังคมที่สามารถแสดงออกผ่าน การมี เครือข่าย บรรทัดฐาน และความไว้วางใจ เพื่อการสร้างความพึงพอใจให้กับชีวิตและการมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นที่แสดงออกผ่านความเป็นตัวตน ความรู้สึกเป็นเจ้าของและการได้กลายเป็นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพชีวิต -- กาญจนบุรีen_US
dc.subjectนวัตกรรมสังคมen_US
dc.subjectคนไร้รัฐ -- ไทยen_US
dc.titleนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยคนสองถิ่นชายแดนไทย-พม่า จังหวัดกาญจนบุรีen_US
dc.title.alternativeSocial innovation for living standard improvements of dual non-citizens living along the Thai-Myanmar border, Kanchanaburi provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this qualitative research was to study and model experiences of disparity, and resistance, and the formation and establishment of social innovation by dual non-citizens along the Thailand-Myanmar border, Kanchanaburi Province. This study was grounded in the methods and concepts of phenomenology, and was based on a review of the literature and on field research. The key informants were dual non-citizens, representatives of civil society organizations, local government organizations, community leaders, and other community members in the area of Sangklaburi and Tamaka District, Kanchanaburi Province. The findings of this inquiry indicated that dual non-citizens face disparity that was shown through oppressive, obstruction, negative attitudes, and exclusion. These hardships also brought the key informants to new realizations and inspired them to innovate in order to make a better life for themselves. The key informants showed resistance in refusing to accept defeat, to allow their identities and feelings to be suppressed, forging new identities to bring about harmony and reproducing symbolic violence. Social Innovations were established in various activities such as a saving group and credit, health volunteering, religious and cultural activities which became social capital that indicated a social network, social norms, and mutual trust. Living standard improvements has been shown satisfactorily through feeling of being, belonging and becoming.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมืองen_US
Appears in Collections:CSI-LSBP-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SERI THONGMAK.pdf5.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.