Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1072
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทัศนีย์ ปัญจานนท์ | - |
dc.contributor.author | กัลยวรรธน์ สัตย์อุดม | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-16T08:45:11Z | - |
dc.date.available | 2022-06-16T08:45:11Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1072 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ แนวทางในการจัดการเรียนรู้ และเจตคติต่อการเรียนของนักเรียนหลังการใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก ในรายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของพืช กลุ่มตัวอย่างจากการเลือกแบบเจาะจง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 24 คน ของโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาคแห่งหนึ่ง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการสืบพันธุ์ของพืชดอก จานวน 4 แผน รวม 8 คาบ และ2) สื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ 2) แบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของพืช 3) อนุทินสะท้อนความคิดของนักเรียน และ 4) แบบบันทึกหลังสอนของครู วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และNormalized gain <g> ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีผลการเรียนรู้สูงขึ้นหลังจากเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ คะแนนผลการเรียนที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยรายชั้นเรียนเท่ากับ 0.75 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ “สูง” 2) แนวทางในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ให้มีประสิทธิภาพนั้น ต้องการทักษะต่างๆ ร่วมด้วย เช่น กระบวนการกลุ่ม การทางานเป็นทีม ภาวะผู้นา การสื่อสาร สื่อวีดิทัศน์ที่เหมาะสม เกม แข่งขันตอบคาถาม ทบทวนเนื้อหา เสริมภาษาอังกฤษโดยเฉพาะอย่างยิ่งคาศัพท์เฉพาะทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น และ 3) นักเรียนมีเจตคติต่อการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของพืชอยู่ในระดับ “สูง” ค่าเฉลี่ยจากแบบประเมินเจตคติเท่ากับ 3.31 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การเรียนรู้ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | en_US |
dc.subject | พืช -- การสืบพันธุ์ | en_US |
dc.subject | การสืบพันธุ์ | en_US |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา | en_US |
dc.title | การพัฒนาผลการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่องการสืบพันธุ์ของพืชดอก ในรายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของพืชของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 | en_US |
dc.title.alternative | The deverlopment of learning outcome using inquiry-based learning on reproduction of flowering plants in plant anatomy and physiology subject of Mattayomsuksa 5 students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research learning outcome, approaches to learning and attitude of learning of students by using inquiry-based learning on reproduction of flowering plants in Plant Anatomy and Physiology subject. The subjects were chosen by purposive sampling which they were 24 students in class of Mattayomsuksa 5 of a regional Science School belonging tp Secondary Educational Service Area Office 4, Pathumthani province during the second semester of 2015 academic year. The research instruments were 1) four lesson plans of teaching in reproduction of flowering plants covered 8 hours 2) videos of reproduction of flowering plants. The data collection instruments included 1) achievement test 2) test of attitude toward Plants Anatomy and Physiology subject learning 3) student journal writing and 4) teacher reflective journal. The data were analyzed by using mean, standard deviation and Normalized gain <g>. The research finding revealed that 1) Students’ learning outcomes were increased after using the inquiry-based learning. The average gain was 0.75 which was in the “high gain” level. 2) The way to approaches to the inquiry-based learning to be effective required to combined with anther skills such as group process, team work, leadership, communication, appropriates video, game, quiz competition, review of the content, English skill especially in scientific terminology, etc. and 3) Students’ attitudes towards Plants Anatomy and Physiology subject learning were in “high” level. The average score of attitude test was at 3.31. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanyawat Sataudom.pdf | 7.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.