Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1082
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนาวรรณ รักษาพงษ์พานิช-
dc.contributor.authorสรวิศ เขียนเสมอ-
dc.date.accessioned2022-06-17T02:57:45Z-
dc.date.available2022-06-17T02:57:45Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1082-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาในวิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 โดยใช้การจัดการเรียนการสอนตามแนววัฎจักรการเรียนรู้ 4MAT 2) เพื่อศึกษาความความพึงพอใจของนักศึกษาในวิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 ที่มีการจัดการ เรียนการสอนตามแนววัฎจักรการเรียนรู้ 4MAT ของวิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 ในกลุ่ม 12 จำนวน 6 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 4MAT 2) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน จำนวน 1 ชุด 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของ นักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 4MAT ทำการทดสอบความรู้ก่อนการ สอน จากนั้นทา การสอนทั้งหมด 11 คาบเรียนเมื่อเสร็จสิ้นการสอนทดสอบความรู้หลังการสอน นำ ข้อมูลมาวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียนโดยใช้ค่าสถิติวิลคอกซัน (Wilcoxon Matched Pairs) และสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 4MAT วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลังเรียน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .02 แสดงว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน 2) นักศึกษามีความพึงพอใจมากต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 โดยนักศึกษามีความพึงพอใจ ในหัวข้อนักศึกษามีอิสระทางการแสดงความคิดเห็น ( X = 4.67) เป็นอันดับ 1 และหัวข้อประยุกต์แนวคิดมาใช้ในผลงานของตนเองได้ ( X = 4.50) หัวข้อมีการสรุป และการอภิปรายระหว่างนักศึกษาและผู้สอน ( X = 4.50) เป็นอันดับรองลงมาen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectดนตรี -- การเรียนการสอนen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- การศึกษาและการสอนแบบ4MATen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- การศึกษาและการสอน -- มหาวิทยาลัยรังสิต --วิทยาลัยดนตรีen_US
dc.titleการส่งเสริมความสามารถทางการผลิตดนตรีตามแนววัฏจักรการเรียนรู้ 4MAT : กรณีศึกษา นักศึกษาวิทยาลัยดนตรีen_US
dc.title.alternativeTo enhance music production abilty through 4MAT cycle learning activities : a case study of Music College Studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis study aimed to investigate the students' achievement who enrolled in "Production Skill 2" (MUS162) in the second semester of an academic year 2017 using the management plan of 4MAT and to find out the students’ satisfaction of Production skill 2 subject with the teaching plan of 4MAT. The sample in the study consisted of six music college students enrolled in Production Skill 2 (MUS162) in a Rangsit University. The instruments included 1) eleven lesson plans, 2) Achievement test, and 3) Satisfaction questionnaire. The pre-test was carried out at the beginning of the semester and the post-test was administered after 11 teaching classes were done. The results of both tests were collected, analyzed, and compared using Wilcoxon Matched Pairs. Then, the questionnaire were distributed to obtain the students' satisfaction data. The results indicated that 1) After teaching, the mean score of learning achievement of students being provided by 4MAT instructional was higher than before at the 0.2 level of significance. 2) After teaching, the mean score of students’ satisfaction being provided by 4MAT instructional showed students is the most satisfied with the topic of being able to express their own opinion ( X =4.67) to adapt idea using in the project ( X =4.50) and to debate and between the students and teacher ( X =4.50)en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
Appears in Collections:EDU-CI-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SORRAWIT KHEANSAMER.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.