Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1084
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนาวรรณ รักษาพงษ์พานิช | - |
dc.contributor.author | สรวศิ ถาวรพฤกษ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-17T03:12:06Z | - |
dc.date.available | 2022-06-17T03:12:06Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1084 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ ( ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี:มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการ จัดการเรียนรู้วิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) 2) เพื่อศึกษาเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) หลังได้รับ การจัดการเรียนรู้วิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) กลุ่มทดลอง ได้แก่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในวิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 กลุ่มที่ 2 ใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 แขนงวิชาการผลิตดนตรี วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้ประกอบไปด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) จำนวน 11 แผน 2) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 25 ข้อ 3) แบบสอบถามเจตคติที่ผู้เรียนมีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปา (CIPPA Model) หลัง การจัดการเรียนรู้ จาำนวน 10 ข้อวิเคราะห์ข้อมูลโดย คำนวณหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน หาค่าเฉลี่ยร้อยละ และ ทดสอบสมมติฐานโดยทดสอบอันดับที่มีเครื่องหมายกำกับของ วลิ คอกซัน (Wilcoxon Matched Pairs Signed - rank Test) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาทักษะการผลิตดนตรี 2 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) สูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติท(ีระดับ 0.01 2) นักศึกษามีเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) ในคำถามเชิงบวก อยู่ ในเกณฑ์ระดับเห็นด้วย ( x¯ = 4.13) (SD = 0.63) พบว่านักศึกษากลุ่มทดลองมีเจตคติในข้อการ จัดการเรียนรู้แบบ CIPPA สอนให้ข้าพเจ้านำความรู้ที่ได้ในห้องเรียนมาปรับใช้ในสถานการณ์จริง มากที่สุด ( x¯ = 4.27) (SD = 0.63) และในคำถามเชิงลบ อยู่ในเกณฑ์ระดับไม่เห็นด้วย ( x¯ = 4.20) (SD = 0.60) พบว่านักศึกษากลุ่มทดลองมีเจตคติในข้อการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA ทำให้ข้าพเจ้า ไม่อยากเรียนวิชา Production Skills 2 มากที(สุด ( x¯ = 4.60) (SD = 0.50) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ผลสัมฤทธิทางการเรียน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ดนตรี -- คอมพิวเตอร์ช่วยสอน -- วิจัย | en_US |
dc.title | การจัดการเรียนรู้ทักษะการผลิตดนตรี 2 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา (Cippa model) | en_US |
dc.title.alternative | Learning management in "music production skills II" using Cippa teaching model | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purposes of the present research were 1) to compare the achievement of learning before and after learning management in “music production skills II” using CIPPA Teaching Model 2) to study the student’s attitude toward the CIPPA Teaching Model after learning management in “music production skills II” using CIPPA Teaching Model. The experimental group consisted of 15 students in “music production skills II”, Department of Music Production, Conservatory of Music, Rangsit University, During the second semester of the 2016 academic year. The instruments used for the study comprised of 1) 11 lesson plans on the “music production skills II” 2) a learning achievement test 3) a 10-item, 5-scale attitude test. The collected data were analyzed by arithmetic mean, standard deviation, means of percentage and wilcoxon matched pairs signed - rank test. The findings showed that : 1) The students’s achievement of learning after learning management in “music production skills II” higher than before learning management with significant difference at the level of 0.01 2) The student’s attitude toward the CIPPA Teaching Model after learning management in “music production skills II” in positive questions showed a positively “High” level with arithmetic mean of 4.15 and standard deviation of 0.62 the attitude’s test showed that learning management using cippa teaching model taught me to bring the classroom knowledge to the real world question is the most scored with arithmetic mean of 4.27 and standard deviation of 0.63 and in negative questions showed a positively “High” level with arithmetic mean of 4.20 and standard deviation of 0.60 the attitude’s test showed that learning management using cippa teaching model makes me don’t want to learn in “music production skills II” question is the most scored with arithmetic mean of 4.60 and standard deviation of 0.50. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SORAWIS THAVRONPOUE.pdf | 3.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.