Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา จันทร์ประเสริฐ-
dc.contributor.authorปรเมศวร์ สุธรรม-
dc.date.accessioned2022-06-17T03:45:43Z-
dc.date.available2022-06-17T03:45:43Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1090-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยนาวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้กับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม (STS) เรื่องคลื่น เพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ของนักเรียน และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนรัฐบาลขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง ในจังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จานวน 114 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) วิจัยเชิงปฏิบัติการสามารถนามาใช้ร่วมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมได้อย่างดี ทาให้ผู้สอนเกิดการพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ ส่งผลดีต่อผู้เรียน 2) นักเรียนมีคะแนนความก้าวหน้าทางการเรียนเฉลี่ยรายชั้นอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ห้อง 4/2, 4/7 และ 6/7 มีค่า Normalized Gain เท่ากับ 0.46, 0.37 และ 0.51 ตามลาดับ และค่าความก้าวหน้าทางการเรียนเฉลี่ยรายบุคคลพบว่ามีนักเรียนจานวน 5 คน อยู่ในเกณฑ์สูง 83 คน อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง และ 18 คน อยู่ในเกณฑ์ต่า 3) ความคิดเห็นของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก (x̅=4.46 ,S.D.=0.62) ซึ่งด้านครูผู้สอนมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านสาระการเรียนรู้ และด้านผู้เรียน ตามลาดับen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectมโนทัศน์en_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เรื่อง คลื่นเพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.title.alternativeThe effect of learning management using science, Technology and society (STS) approach to enhance Mathayomsuksa students' perception of waveen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this study were to conduct action research to science, technology and society approach for high school student’s perception of wave and study student’s opinion about teaching. The target group was 114 high school students of the government school in Pathum Thani province. The results were as follows 1) The action research could be used to science, technology and society approach appropriately 2) students in each class had learning progress at the medium average such as 4/2, 4/7 and 6/7, and these classrooms got normalized gain at 0.46, 0.37 and 0.51 respectively. For The learning progress of individual, there were 5 people in high gain, 83 people in medium gain and 18 people in low gain, 3) The student’s opinion toward teaching was at somewhat appropriate level (x̅=4.46 ,S.D.=0.62) . The teacher was at strongest appropriate level, and learning activities and students were at appropriate level respectively.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Poramet Sutham.pdf8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.