Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1096
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยา มุ่งชำนาญกิจ-
dc.contributor.authorทัศณัยฐ์ พันธ์กูล-
dc.date.accessioned2022-06-17T07:00:09Z-
dc.date.available2022-06-17T07:00:09Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1096-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา ผลของการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่มในการแก้โจทย์ปัญหาวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งจานวน 24 คน โดยมีเครื่องมือวิจัยได้แก่ แบบประเมินทักษะการแก้ปัญหา แบบสังเกตทักษะการทางานร่วมกัน อนุทินและวีดีโอบันทึกการจัดการเรียนรู้ในแต่ละวงจรของครูผู้สอน ผู้วิจัยวิเคราะห์ผลวิจัยโดยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและร้อยละของคะแนนประเมินทักษะการแก้โจทย์ปัญหาและทักษะการทางานเป็นกลุ่ม แนวโน้มเปรียบเทียบในแต่ละวงจรพบว่า ทักษะการแก้โจทย์ปัญหาและทักษะการทางานร่วมกันของผู้เรียนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยที่คะแนนประเมินหลังการวิจัยทักษะการแก้โจทย์ปัญหาเพิ่มขึ้น 48.87% และทักษะการทางานร่วมกันของผู้เรียนมีเพิ่มขึ้น 23.05%en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectกระบวนการเรียนรู้en_US
dc.subjectฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen_US
dc.titleการพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาและการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่มen_US
dc.title.alternativeThe development of Mathayomsuksa 5 students' problem solving and group learning skill in physics by using group investigationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this study were: to examine grade 11 students' development of problem solving and social group work skill by using group investigation and to examine the effective group investigation methods for student. The research tools included observation of solving skill and social group working skill, diary and video (classroom recording). The result analyzed from mean and standard deviation and percentage of an achievement test. The finding showed that students’ problem solving skills and social group working skill are improving. The score of problem solving has increased by 48.87% and Group learning has increased by 23.05%.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tassanai Pankune.pdf5.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.