Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1099
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวศิณ ชูประยูร-
dc.contributor.authorสุรชาติ เชื้ออภิรมย์-
dc.date.accessioned2022-06-17T07:28:30Z-
dc.date.available2022-06-17T07:28:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1099-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วทม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2559en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริโภคต่อปัจจัยด้านการยอมรับและการใช้แอปพลิเคชันการธนาคารบนมือถือ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การใช้แอปพลิเคชันต่อปัจจัยด้านการยอมรับและการใช้แอปพลิเคชัน 3) พฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชัน 4) ปัจจัยด้านการยอมรับและการใช้แอปพลิเคชันที่มีอิทธิพลต่อการใช้แอปพลิเคชัน และ 5) นำเสนอตัวแบบการพัฒนาแอปพลิเคชันการธนาคารบนมือถือสำหรับผู้บริโภคกลุ่ม Generation Y ในกรุงเทพมหานคร เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ทฤษฎีที่เป็นฐานในการวิจัย คือ สหทฤษฎีว่าด้วยการยอมรับและการใช้เทคโนโลยีรุ่นที่ 2 (UTAUT2) ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคกลุ่ม Generation Y ในกรุงเทพมหานคร จานวน 400 คน และ 337 คนได้ตอบแบบสอบถาม (ร้อยละ 94.25) สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ก) สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข) สถิติอ้างอิง ได้แก่ สถิติทดสอบ t, การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว, สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าปัจจัยด้านความคุ้นชิน ทัศนคติที่มีต่อการใช้เทคโนโลยี แรงจูงใจด้านความชอบ การรับรู้ความน่าเชื่อถือ และความสอดคล้องหรือความเหมาะสมกับผู้ใช้งาน มีอิทธิพลต่อการใช้แอปพลิเคชัน 59.8% (R2=.598) นอกจากนี้เมื่อพิจารณาปัจจัยภายในของแต่ละตัวแปรปัจจัยด้านการยอมรับ พบปัจจัยที่มีอิทธิพลเพิ่มเติม คือ ความคาดหวังในประสิทธิภาพ และความวิตกกังวลด้านเทคโนโลยี ส่งผลให้ค่าอิทธิพลเพิ่มขึ้น 62.3% (R2=.623) ผลการทดสอบสมมติฐานทาให้ได้สมการอิทธิพลของปัจจัยการยอมรับต่อการใช้แอปพลิเคชันการธนาคารบนมือถือรวมทั้งสิ้น 13 สมการ และได้ตัวแบบการพัฒนาแอปพลิเคชันการธนาคารบนมือถือสำหรับผู้บริโภคกลุ่ม Generation Y ในกรุงเทพมหานครen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectแอพพลิเคชั่น -- การพัฒนา -- วิจัยen_US
dc.subjectบริการธนาคารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่en_US
dc.subjectธนาคารบนมือถือen_US
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยีen_US
dc.titleการนำเสนอ ตัวแบบการพัฒนาแอปพลิเคชันการธนาคารบนมือถือสำหรับผู้บริโภคกลุ่ม Generation Y ในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeA Proposed Model for Mobile Banking Application Development Used for Generation Y Consumers in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis thesis aims to study 1) relationship between consumer’s characteristics and mobile banking application adoption factors, 2) relationship between the application usage experiences and the factors, 3) usage behavior of the application, 4) influence of the application adoption factors towards the application use, and 5) to propose a model for mobile banking application development used for generation Y consumers in Bangkok. This is study a quantitative research based on UTAUT2. Questionnaires were used for gathering data from 400 generation Y customers; 377 customers returned the questionnaires (94.25%). Statistics used in the study are a) descriptive statistics: percentage, mean and standard deviation; and b) inferential statistics: t-test, one-way-ANOVA, Pearson correlation coefficient and multiple regression. The hypothesis test resulted that habit, attitude toward use of technology, hedonic motivation, perceived credibility, and compatibility influence use of mobile banking applications at 59.8% (R2=.598). In consideration of internal factors of each variable found that performance expectancy and technology anxiety influence use of the application at 63.3% (R2=.623). The hypothesis test also generated 13 equations lead to create a model for developing mobile banking application used by generation Y consumers in Bangkoken_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
Appears in Collections:ICT-ITM-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SURACHART CHUEAPIROM.pdf16.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.