Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1100
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวศิณ ชูประยูร-
dc.contributor.authorจิรนัย จีรนัยธนวัฒน์-
dc.date.accessioned2022-06-17T07:34:53Z-
dc.date.available2022-06-17T07:34:53Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1100-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วทม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2559en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรม สภาพปัญหา และปัจจัยที่อิทธิพลต่อการใช้แอปพลิเคชันไลน์ (LINE) ของผู้สูงอายุไทย ตลอดจนเสนอแนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชันไลน์ให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย โดยประยุกต์แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี (TAM) สหทฤษฏีว่าด้วยการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี (UTAUT) และ ISO/IEC 9126-1:2001 พัฒนาเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงอายุไทยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 385 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มแบบลูกโซ่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบที การทดสอบเอฟ และสถิติวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า มี 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับแอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุ คือ (1) การอำนวยความสะดวกในการสื่อสารกับครอบครัวและสังคมรอบข้าง (2) ขนาดของปุ่มกดในแอปพลิเคชันไลน์ที่เล็กเกินไป และ (3) ความต้องการติดต่อกับบุคคลอื่นๆ ที่ใช้แอปพลิเคชันไลน์ เมื่อจำแนกกลุ่มตามลักษณะการพักอาศัยของผู้สูงอายุ โดยที่กลุ่มผู้สูงอายุที่พักอาศัยอยู่ตามลำพังยอมรับแอปพลิเคชันไลน์ร้อยละ 60 และกลุ่มผู้สูงอายุที่พักอาศัยร่วมกับบุคคลในครอบครัวยอมรับแอปพลิเคชันไลน์ ร้อยละ 70.4 และมี 2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับแอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุ คือ (1) การส่งข้อความเสียงในไลน์ช่วยทำให้สามารถสื่อสารกันได้สะดวก ง่าย และตรงใจมากกว่าการพิมพ์ข้อความ และ (2) ในภาพรวมแล้วแอปพลิเคชันไลน์ใช้งานง่าย เมื่อจำแนกกลุ่มตามการประสบปัญหาและไม่ประสบปัญหาในการใช้งานแอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุ โดยกลุ่มผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาในการใช้งานยอมรับแอปพลิเคชันไลน์ร้อยละ 65.4 และกลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่ประสบปัญหาในการใช้งานยอมรับแอปพลิเคชันไลน์ร้อยละ 49 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และได้สมการจำแนกประเภทจำนวน 2 สมการ โดยสมการจาแนกกลุ่มมีความแม่นยำในการพยากรณ์การเป็นสมาชิกของกลุ่มได้ถูกต้อง ร้อยละ 69.1 และ ร้อยละ 61.0 ตามลำดับen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectแอพพลิเคชั่น -- การพัฒนา -- วิจัยen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดำเนินชีวิต -- วิจัย -- ไทยen_US
dc.subjectไลน์ (ซอฟต์แวร์แอพพลิเคชั่น) -- ผู้งสูงอายุ -- วิจัย -- ไทยen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชันไลน์ให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยen_US
dc.title.alternativeThe approaches for developing appropriate line application for Thai older adultsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to investigate the behaviors, problems, and factors, which influence LINE application adoption of the Thai older adults and propose the guidelines for developing appropriate LINE application for the Thai older adults. The research conceptual framework was developed with integration of the Technology Acceptance Model (TAM), Unified Theory of Acceptance and Use of Technology (UTAUT), and ISO/IEC 9126-1:2001. Questionnaires were used as tools for gathering data from a sample of 385 Thai older adults in Bangkok. The sample was chosen by snowball random sampling technique. Research data were analyzed with the use of the percentage, mean, chi-squared test, t-test, F-test (One-way ANOVA) and discriminant analysis. The research found three factors that influence LINE application adoption of the Thai older adults: (1) The facilitation of communication with family and social peers; (2) The keypad buttons are too small; and (3) The desire to communicate with other LINE users. When the group of older Thai adults is separated by their type of living situation, the group living alone had a 60% rate of adoption of the LINE application and the group living with family members had a 70.4% rate of adoption. There are also two factors that influence LINE application adoption of the Thai older adults: (1) Voice messaging in LINE that allows users to communicate with more convenience and ease than text messaging; and (2) The overall LINE application is easy to use. When the group of older Thai adults is separated by those who had problems and those who did not have problems using the LINE application, the group that had problems had an adoption rate of the LINE application of 65.4%, and the group that did not have problems had an adoption rate of 49%. This result occurred at a .05 statistical significant level and generated two discriminant equations. The discriminant equations could predict membership of the groups accurately at 69.1% and 61.0% respectivelyen_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
Appears in Collections:ICT-ITM-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JIRANAI JEERANAITHANAWAT.pdf12.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.