Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/110
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดารุณี เสริฐผล-
dc.contributor.authorมิ่งมุก สุทธิกิตติพงศ์-
dc.date.accessioned2021-12-02T07:36:24Z-
dc.date.available2021-12-02T07:36:24Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/110-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์เรื่องสมบัติของสาร และ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่องสมบัติของสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะเป็นฐาน (5E) รูปแบบการวิจัยเป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ ดำเนินเป็นวงจรต่อเนื่องกัน 4 วงจรปฏิบัติการ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะเป็นฐาน (5E) เรื่องสมบัติของสารจำนวน 4 แผน แบบบันทึกการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อนุทินสะท้อนคิดของผู้เรียน และแบบวัดความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์เรื่องสมบัติของสารที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.80 ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ t (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนอยู่ในระดับพอใช้ (13.02 คะแนน จาก 48 คะแนน) ภายหลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะเป็นฐาน (5E) ทั้ง 4 แผนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 59.08 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป จัดอยู่ในระดับดี (28.36 คะแนน จาก 48 คะแนน) โดยมีคะแนนเฉลี่ยของแต่ละองค์ประกอบในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ข้อกล่าวอ้าง 14.28 คะแนน, หลักฐาน 8.98 คะแนน และการให้เหตุผล 5.10 คะแนน 2) นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้en_US
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะเป็นฐาน (5E)en_US
dc.title.alternativeThe development of grade 10 students’scientific explanation ability in properties of matter using inquiry-based learningen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this study were to 1) study students’ scientific explanation ability in a science lesson on properties of matter and 2) to compare their scientific explanation ability before and after treated with inquiry-based learning (5E). The research methodology was action research which proceeded continue in 4 cycles. The samples consisted of 50 grade 10 students during the second semester of the academic year 2019. The research instruments included 4 inquiry-based learning (5E) lesson plans on properties of matter, a learning activity log, and a students’ reflection form and a scientific explanation ability test on properties of matter with a reliability of 0.80. The data were analyzed by using mean, standard deviation, and t-test. The result revealed that the pretest mean score of the scientific explanation ability was medium (13.02 out of 48). After learning through 4 lesson plans, the posttest mean score increased to 59.08 % higher than the criteria score of 50 percent and was classified as a good level (28.36 out of 48). The mean scores of claim making, evidence identifying, and reasoning were 14.28, 8.98, and 5.10, respectively. The posttest mean score of scientific explanation ability was higher than pretest mean score with a significance level of .05.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mingmook Suttikittipong.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.