Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1118
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต-
dc.contributor.authorนิภาพร เทวาวงค์-
dc.date.accessioned2022-06-22T05:56:20Z-
dc.date.available2022-06-22T05:56:20Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1118-
dc.description.abstractเชื้อที่สามารถสร้างเอนไซม์ AmpC IS-lactanase (AmpC) สามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อในโรงพยาบาล และโรคติดเชื้อในชุมชนได้ ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการมาตรฐานในการตรวจหา การสร้างเอนไซม์ AmpC ที่แน่นอน ผู้วิจัยจึงทําการตรวจคัดกรองการแสดงออกของเอนไซม์ AmpC ในเชื้อ E. coli และ K pneumoniae ที่แยกได้จากสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ 4 แห่ง โดยวิธี ArmpC disk test และ Boronic acid disk test จากสิ่งส่งตรวจทั้งหมด 259 ตัวอย่าง ที่เก็บระหว่าง เดือน สิงหาคม - เดือนกันยายน พ.ศ. 2551 ผลการทดลองตรวจพบการสร้างเอนไซม์ AImpC 45 ตัวอย่าง (17.37%) เป็นเชื้อ E. coli 30 ตัวอย่าง (15.71%) จากทั้งหมด 191 ตัวอย่าง และเป็น K. pneumoniae 15 ตัวอย่าง (22.06%) จากทั้งหมด 68 ตัวอย่าง โดยจาก 45 ตัวอย่าง พบุว่า 37 ตัวอย่าง (14.29%) สร้างเอนไซม์ AmpC และ ESBLs ร่วมกัน 8 ตัวอย่าง (3.09%) มีการสร้างเอนไซม์ AmpC เพียงอย่างเดียว และจากวิธี Ceftazidime Imipenena Antagonist Test (CIAT) พบว่าเป็นเอนไซม์ Non inducible AmpC 24 ตัวอย่าง (9.27%) เอนไซม์ AmpC inducible ACT-1 10 ตัวอย่าง (3.86%) inducible CMY-13 5 ตัวอย่าง (1.93%) inducible DHA-11 ตัวอย่าง (0.39%) และแปลผลไม่ได้ 5 ตัวอย่าง (1.93%) เนื่องมาจากเชื้อดื้อต่อยา Ceftazidime การนําวิธีการตรวจคัดกรองเอนไซม์ AImpC นี้ไปประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ ควรคํานึงถึงความเหมาะสมของห้องปฏิบัติการ และ วัตถุประสงค์ของการนําไปใช้ของห้องปฏิบัติการนั้นๆ อย่างไรก็ตามในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเพียงแค่ การตรวจคัดกรองการสร้างเอนไซม์ AmpC เท่านั้น ต้องนําเชื้อเหล่านี้ไปทําการตรวจยืนยันโดยวิธี ทาง genotypic ต่อไป เพื่อหายืนที่ใช้ในการควบคุมการสร้างเอนไซม์ AmpCen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectเอนไซม์ -- การตรวจคัดกรอง -- วิจัยen_US
dc.subjectยาต้านจุลชีพ -- วิจัยen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการตรวจคัดกรองการแสดงออกขอเอนไซม์ AmpC gbs-lactamases ในเชื้อ Escherichia coli และ Klebsiella pneumoniae จากสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการen_US
dc.title.alternativePhenotypic screening for AmpC beta lactamases producing Escherichia coli and Klebsiella pneumoniae from clinical specimensen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractAmpc beta lactamases (AmpC) producer bacteria could be caused nosocomial infection and community acquired infection. Nodaway, There is no any gold standard method for AmpC enzyme detection. In this study, aimed to screen for AmpC producing Escherichia coli and Klebsiella pneumoniae that isolated from 4 Microbiology laboratories by AmpC disk test and boronic acid disk test from 259 isolated specimens during August to September 2008. The results showed that 45 isolates (17.37%) are AmpC beta lactamase producer which composed of 30 specimens (15.71%) of E. coli from all 191 isolates and 15 specimens (22.06%) of K. pneumoniae from all 68 isolated. From 45 isolates positive for AmpC, 37 isolates (14.29%) are AmpC and ESBLs producer and 8 isolates (3.09%) are Ampc producer alone. The finally, Ceftazidime Imipenem Antagonist Test (CIAT) method found 24 isolates (9.27%) are Non inducible AmpC, 10 isolates (3.86%) are inducible AmpC ACT-1 type, 5 isolates (1.93%) are inducible CMY-13 type, the only one isolate (0.93%) is inducible DHA-1 type and 5 isolates (1.93%) could be not interpret because no inhibition zone of Ceftazidime. The applications of screening methods for AmpC in clinical fields have been considered suitable of laboratory and objectives of laboratory use. However, in this study aimed to phenotypic screen for AmpC enzyme in clinical specimens. The further study may be confirmatory test by genotypic method (PCR) for AmpC gene detection in these specimens.en_US
Appears in Collections:MeT-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nipaporn Tewawong.pdf41.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.