Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1145
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สัญญพงศ์ ลิ่มประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | เทพิน ใคร้วานิช | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-01T02:58:54Z | - |
dc.date.available | 2022-07-01T02:58:54Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1145 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | จากการศึกษาระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (Universal Health Coverage in Thailand prepare to be ASEAN community) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางที่เหมาะสมของระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และเปรียบเทียบระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยกับประเทศที่มีระบบหลักประกันสุขภาพในอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยประเทศไทย ประเทศบรูไน และประเทศสิงคโปร์ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์เนื้อหาจากตำรา เอกสาร วารสาร และอินเตอร์เน็ต และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านสาธารณสุข โดยผลการศึกษาระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย พบว่า ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยยังคงมีเงื่อนไขในการเข้าถึงบริการของผู้รับบริการในแต่ละกองทุน และปัญหาต้นทุนในการรักษาพยาบาล รวมถึงเมื่อมีการเปิดประชาคมอาเซียนประเทศไทยอาจต้องประสบปัญหาการรักษาพยาบาลแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ตามแนวชายแดนของประเทศ รวมถึงคนชายขอบและแรงงานต่างด้าว เนื่องจากประราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ไม่มีข้อห้ามในการไม่รักษาพยาบาลแก่บุคคลต่างด้าว และบุคคลไร้สัญชาติ ทำให้รัฐบาลจำเป็นต้องแบกรับตามหลักมนุษยธรรม หรือสิทธิ์ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ที่ให้ความคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ทำให้รัฐบาลต้องแบกรับภาระด้านงบประมาณเป็นจำนวนมหาศาล ดังนั้น เมื่อยังไม่มีความชัดเจนในการดูแลรักษาแรงงานต่างด้าว และคนชายขอบ แม้ว่าจะมีการเตรียมแผนในการจำหน่ายประกันสุขภาพในราคาถูกให้แก่คนกลุ่มดังกล่าว ซึ่งอาจจะเกิดปัญหามากขึ้นเมื่อเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภาครัฐจึงควรหันมาทบทวนการปรับปรุงกฎหมาย หรือกฎระเบียบต่างๆ รวมถึงการจัดเก็บเงินค่าเหยียบแผ่นดินเพื่อนำมาใช้ใน การรักษาพยาบาลแก่กลุ่มที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยและไม่มีกำลังในการจ่ายค่ารักษาพยาบาลในทุกกรณี นอกจากนี้ควรผลักดันให้ทุกประเทศในประชาคมอาเซียนมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อคุ้มครองสิทธิ์ในการรักษาพยาบาลเมื่ออยู่ในประเทศไทย | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ระบบประกันสุขภาพ | en_US |
dc.subject | หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า -- ไทย | en_US |
dc.subject | ประชาคมอาเซียน -- การสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน | en_US |
dc.title.alternative | Universal health coverage in Thailand prepare to be Asean Community | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objective of study Universal Health Coverage in Thailand prepare to be ASEAN community were to examine the suitable approach on security health system in Thailand prepare to be ASEAN community and compare the security health system with 3 country in ASEAN community that have security health such as Thailand, Brunei Singapore. This is qualitative study by analyzing the content of the document, journals and Internet including in-depth interviews from expert in public health. The security health system in Thailand is indicated that the security health system and universal health coverage in Thailand still has the conditions of access to service recipients in each fund and the cost in medical treatment still big problem. When stepping on to the ASEAN community Thailand maybe experiencing in medical care to people living along the border which include stateless person and alien workers. Health Security act in year 2002 does not prohibition in the treatment to the alien, and stateless persons. The government needs to bear on humanitarian ground. Also the constitutional right in the year 2007 provided health coverage of human dignity burden the government budget in large amount of money | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TEPIN CRAIVANICH.pdf | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.