Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศ พงศ์ธีรัตน์-
dc.contributor.authorขวัญชัย พิมพะนิตย์-
dc.date.accessioned2021-12-02T07:54:57Z-
dc.date.available2021-12-02T07:54:57Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/114-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 23 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาคแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี เครื่องมือวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบนิเวศ จำนวน 4 แผน 2) แบบบันทึกภาคสนาม 3) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.67-1.00 ค่าความยากง่าย 0.25-0.81 ค่าอำนาจจำแนก 0.25-0.75 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.82 4) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา มีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.67-1.00 ค่าความยากง่าย 0.25-0.75 ค่าอำนาจจำแนก 0.25-0.88 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.75 และ 5) แบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน วิธีการหาผลการเรียนที่เพิ่มขึ้น (Normalized gain) และการทดสอบสถิติค่าทีแบบไม่อิสระ (Dependent t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษามีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่เพิ่มขึ้นรายชั้นเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 0.53 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง และรายบุคคลอยู่ในเกณฑ์สูงจำนวน 3 คน และปานกลางจำนวน 20 คน และนักเรียนมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 ± 0.65en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.titleการส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ วิชาชีววิทยาเรื่อง ระบบนิเวศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาen_US
dc.title.alternativePromotion of the scientific-problem solving ability of grade 12 students in the biology lesson on ecosystem through stem educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed 1) to study grade 12 student’s scientific-problem solving ability, 2) to compare their learning achievement before and after using the STEM approach, and 3) to study their instructional satisfaction towards the STEM approach. The samples were twenty-three grade 12 students at a regional science high school in the first semester of 2019. The research instruments comprised 4 biology lesson plans on ecosystem designed based on the STEM approach, field notes, a scientific-problem solving ability test with an index of item objective congruence (IOC) between 0.67-1.00, the difficulty-easiness index between 0.25-0.81, the discrimination index between 0.25-0.75, and a reliability coefficient of 0.82, a learning achievement test with an IOC between 0.67-1.00, the difficulty-easiness index between 0.25-0.75, the discrimination index between 0.25-0.88 and a reliability coefficient of 0.75, and an instructional satisfaction test. The data were analyzed using statistics, normalized gain, and dependent t-test. The results revealed that the students’ mean score after using STEM Education lesson plans was 0.53 classified as medium gain. The normalized gains of 3 and 20 students were categorized as high gain and medium gain, respectively. Moreover, the posttest mean score was significantly higher than the pretest mean score (p = 0.01). The learning achievement posttest mean score was significantly higher than the pretest mean score (p = 0.01). The mean score of students’ satisfaction towards learning through the STEM approach was highest (x̅= 4.51, S.D = 0.65)en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kwanchai Pimpanit.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.