Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1163
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศ พงศ์ธีรัตน์-
dc.contributor.authorณัฐธยาน์ ปณิธานรักชัย-
dc.date.accessioned2022-07-08T03:25:23Z-
dc.date.available2022-07-08T03:25:23Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1163-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนเว็บเควสท์ในการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์ (E1/E2) เท่ากับ 80/80 2) ศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเว็บเควสท์ วิชาชีววิทยา เรื่องระบบย่อยอาหาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนเว็บเควสท์ วิชาชีววิทยา เรื่องระบบย่อยอาหาร กลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย บทเรียนเว็บเควสท์ เรื่องระบบย่อยอาหาร แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ แบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของบทเรียนเว็บเควสท์ วิชาชีววิทยา เรื่องระบบย่อยอาหาร (E1/E2) เท่ากับ 83.33/80.31 2) คะแนนผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนเว็บเควสท์ วิชาชีววิทยา เรื่องระบบย่อยอาหาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนเว็บเควสท์ เรื่องระบบย่อยอาหารสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̅= 4.18)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี -- นักเรียน -- ปทุมธานี -- วิจัยen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัยen_US
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัยen_US
dc.titleการใช้บทเรียนเว็บเควสท์เรื่องระบบย่อยอาหารเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในรายวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานีen_US
dc.title.alternativeThe use of webquest-based instruction to support learning in biology of mattayomsuksa 4 students at Kanaratbumrungpathumthani school : a pocus on the topic of digestive systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were 1) to analyse of the effectiveness of WebQuest-Based in Biology of Digestive System of Mattayomsuksa 4 having the efficiency which was higher than the criteria 80/80 2) to study learning outcome of WebQuest-Based in Biology of Digestive System of Mattayomsuksa 4 3) to study student’s satisfaction with WebQuest-Based learning process in Biology. Thirty-two Mattayomsuksa 4 students in Kanaratbamrungpathumthani School were used as the subjects in this study during their first semester of academic year 2014. The research tools used in this study included WebQuest-Based in Biology of Digestive System, lesson plan, learning outcome test and students’ satisfaction questionnaire. The statistics analysis used consisted of percentage, mean (x̅), standard deviation (S.D.) and t-test (Dependent Samples). The research results showed that: 1) The E1/E2 efficiency of WebQuest-Based in Biology of Mattayomsuksa 4 was 83.33/80.31. 2) The learning outcome of students receiving learning process with WebQuest-Based in Biology of Digestive System in overall had the result of learning higher than before learning level of statistical significance .01 3) student’s learning satisfaction including learning activity with WebQuest Biology instruction was high ( x̅ = 4.18).en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NATTHAYA PANITHANRAKCHAI.pdf7.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.