Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1165
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา จันทร์ประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | พงศ์ดนัย โตเลี้ยง | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-08T08:08:26Z | - |
dc.date.available | 2022-07-08T08:08:26Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1165 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาชุดทดลอง เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลมที่มี ความสอดคล้องกับทฤษฎีโดยกําหนดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนผลการทดลอง ±5 เปอร์เซ็นต์ 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดทดลองเรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลม ในการจัดการเรียนรู้ตาม เกณฑ์ (E1/E2) เท่ากับ 80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ที่เรียนโดยใช้ชุดทดลอง เรื่อง การ เคลื่อนที่แบบวงกลม ก่อนเรียนและหลังเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 05 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนคณะราษฎร์บํารุงปทุมธานี จํานวน 40 คน โดยเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินชุดทดลอง เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลมและแบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดทดลองการ เคลื่อนที่แบบวงกลมและวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าทางสถิติ คือ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า T-Test Paired Sample ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดทดลอง เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลมประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 จานหมุน พร้อมกับสปริงที่ใช้แขวนมวล ส่วนที่ 2 ปุ่มปรับความเร็วมอเตอร์ที่ใช้ในการหมุนวัตถุให้เคลื่อนที่ เป็นวงกลม ส่วนที่ 3 จอแสดงค่าความถี่ของการเคลื่อนที่แบบวงกลมและระยะยึดของสปริงที่เกิดขึ้น 2) ประสิทธิภาพของชุดทดลอง เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลมในการจัดการเรียนรู้ตาม เกณฑ์ (E/E2) เท่ากับ 89/82 3) ผลการเรียนรู้หลังเรียนและก่อนเรียนของกลุ่มตัวอย่างมีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลการประเมินชุดทดลอง เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี (x̅ = 4.29, S.D. = 0.68) 5) ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการใช้ชุดทดลอง เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ วงกลม โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี (x̅ = 4.29, SD = 0.77) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี -- นักเรียน -- ปทุมธานี -- วิจัย | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัย | en_US |
dc.title | การสร้างชุดทดลองเรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลมเพื่อเสริมการเรียนรู้ในรายวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี | en_US |
dc.title.alternative | The construction of circular motion experimental set in physics subject to support learning achievement of Mattayomsuksa 4 student at Kanaratbamrungpathumthani school | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purposes of this research were 1) to construct the experimental set in the circular motion that support the theory in physics subject had the percentage of error ±5 2) to analysis of the effectiveness that the standard score was 80/80 3) to compare the performance of students on the pre-test and post-test and 4) to survey of the students’ satisfactions via using this experimental set. The simple random sampling was 40 students studying in Science-Mathematics plan that were mattayomsuksa 4 at Kanaratbamrungpathumthani School. The pretest - posttest in the topic of circular motion and the students’ satisfaction questionnaires were used for correcting data. The means, standard deviation, and t-test were used for statistical study. This study found that 1) The circular motion experimental set consists of 3 parts; Part I was rotation pan with spring for mass indicated, part II was a speed of motor adjustment function, part III a monitor 2) The results of the analysis of the effectiveness (E1/E2) of the experimental set was 89/82. 3) The posttest scores and the pretest scores were significantly different at the level of .05. 4) The result of assessment experimental set in the construction of circular motion experimental set three experts’ overall stay in the good level. (x̅ = 4.29, S.D. = 0.68) 5) The means of students’ satisfaction on the circular motion experimental set, They were good level.(x̅ = 4.29, SD = 0.77) | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PONGDANAI TOLIANG.pdf | 5.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.