Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1166
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนีย์ ปัญจานนท์-
dc.contributor.authorพัสตราภรณ์ เชิดศักดิ์สกุล-
dc.date.accessioned2022-07-08T08:21:45Z-
dc.date.available2022-07-08T08:21:45Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1166-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังเรียน เจตคติทางวิทยาศาสตร์และความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้โดยการใช้บทเรียนเว็บเควสท์ เรื่อง โครโมโซม สารพันธุกรรม และการแบ่งเซลล์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบสอบในรายวิชาชีววิทยา โดยศึกษาในกลุ่มตัวอย่างจากการเลือกแบบกลุ่ม เป็น นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 จานวน 134 คน ของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ที่เรียนวิชาชีววิทยาในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2 แผน รวม 7 คาบ และ 2) บทเรียนเว็บเควสท์ เรื่อง โครโมโซม สารพันธุกรรม และการแบ่งเซลล์ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3) แบบทดสอบวัดเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ และ 4) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนผลการเรียนรู้ และ 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนภายหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ที่ระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.95 + 0.09 และ 4) ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 54.22 ± 0.73en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต -- นักเรียน -- วิจัยen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัยen_US
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัยen_US
dc.titleการพัฒนาบทเรียนเว็บเควสท์เรื่องโครโมโซมสารพันธุกรรมและการแบ่งเซลล์เพื่อเสริมผลการเรียนรู้ในรายวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.title.alternativeThe development of webquest-based instruction on chromosome, dna, and cell division to suport biology learning outcomes in bohr atomic model of muttayomsuksa 4th students at Suankularbwittayalai Rang Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were to compare pre-post mean scores, pre-post analytical thinking ability, the student’s scientific attitude and learning satisfaction on the use of developed Webquest-based instruction in chromosome DNA and cell division topic of biology subject combined with inquiry-based learning. The subjects were 134 mattayomsuksa 4 students at Suankularbwittayalai Rangsit School who enrolled in biology in the first semester of academic year 2014 by using cluster sampling. The research instruments were 1) two lesson plans of teaching covered 7 hours and 2) developed Webquest-based instruction. The data collection instruments included 1) an achievement test 2) analytical thinking ability test 3) scientific attitude test and 4) questionnaire on learning satisfaction. The statistical analysis data were mean, standard deviation and a dependent-sample t-test. The research finding revealed as follow: 1) the post-mean scores on learning outcome and 2) post-analytical thinking ability were statistically significant higher than pre-mean score and pre-analytical thinking ability at alpha level 0.05. 3) The scientific attitude at the max range at 3.95 ± 0.09 and 4) The total mean scores on student’s learning satisfaction was at the best level at 4.22 ± 0.73.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PASTRAPORN CHERDSAKSAKUL.pdf9.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.