Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1205
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส | - |
dc.contributor.author | ตรีตราภรณ์ ตั๋นจี๋ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-05T06:44:26Z | - |
dc.date.available | 2022-08-05T06:44:26Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1205 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก ดังนั้นครู จึงมีหน้าที่สร้างความตระหนักถึงปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการ และการแก้ปัญหาให้แก่ ผู้เรียน แต่อย่างไรก็ตามเนื้อหาด้านสิ่งแวดล้อมเป็นเนื้อหาที่ไม่ค่อยสนุกสนาน ครูจึงต้องมีการ กระตุ้นความสนแก่ผู้เรียนโดยการใช้เว็บเควสท์ สําหรับการวิจัยครั้งนี้เป็นการใช้บทเรียนเว็บเควสท์ ในการสอนชีววิทยาพื้นฐาน เรื่อง มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มการเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (GBP) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต จํานวน 2 ห้องเรียน โดยกําหนดให้เป็นกลุ่มควบคุม จํานวน 31 คน เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติ และกลุ่มทดลอง จํานวน 26 คน เรียนด้วยวิธีการสอนโดยใช้ บทเรียนเว็บเควสท์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีค่า ความเที่ยงเท่ากับ 0.71 2) แบบวัดความพึงพอใจ 3) แบบประเมินพฤติกรรม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที โดยเปรียบเทียบผลการเรียนก่อน และหลังเรียน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียน โดยจัดการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนเว็บเควสท์ และนักเรียนที่เรียนแบบวิธีการสอนปกติมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่อย่างไรก็ตามนักเรียนที่เรียนโดยการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้บทเรียนเว็บเควสท์มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่ากลุ่มที่เรียน ด้วยวิธีการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สําหรับผลการคิดวิเคราะห์พบว่า นักเรียนที่เรียน โดยจัดการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนเว็บเควสท์มีคะแนนผลการคิดวิเคราะห์ก่อน เรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การใช้บทเรียนเว็บเควสท์นั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดการอบรมแก่ครู และในการเรียนการสอนด้วยบทเรียนเว็บเควสท์ควร ศึกษาตัวแปรอื่นร่วมด้วยนอกเหนือจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์ เช่น การคิด สร้างสรรค์ การใช้ผังมโนทัศน์ เป็นต้น | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต -- นักเรียน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน -- วิจัย | en_US |
dc.title | การใช้บทเรียนเว็บเควสท์เพื่อส่งเสริมการเรียนและทักษะการคิดวิเคราะห์ในรายวิชาชีววิทยา เรื่อง มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต | en_US |
dc.title.alternative | The use of webquest-based instruction to improve analytical thinking skills in biology of Mattayomsuksa 5 students at Suankularbwittayalai Rangsit School : a focus on the topic of human and natural resources | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Environment and natural resources are all related to human beings. Class lessons concerning natural resources will be a pathway to guide young generation to understand how to make the world become the better place. However, the human and natural resources lesson is limitted to process just in a class. So, teachers need to find any strategy to activate students to pay more attention in this subject. Webquest is an innovative educational model that supposes to accomplish students to learn better. Because webquest is presented in animated form with sound effect. Students can study themselves anytime. The purpose of this research is to compare the achievement and analytical thinking skills of Mattayomsuksa 5 students in the Gifted Education Program in science ,Suankularbwittayalai Rangsit school, who studied biology by using Webquest as a main learning material in semester 1/2014. There are 31 students in control group and 26 students in experiment group. The experiment group studied the lesson of human and natural resources subject through the Webquest. Thus, the research instruments of the study include 1) the achievement test with a reliability of 0.71, 2) the satisfaction measurement, and 3) behavior measurement test. The data were statistically analyzed by using mean, standard deviation, and ttest. Students' achievement was evaluated by comparing before and after the process. The results showed that the students of the experiment group get higher achievement scores than those of the other one with the statistic significance at 0.05. From the research finding, Webquest is an innovative that can make student to improve learning and achievement because it can develop their analytical thinking skill. Moreover, webquest can help students who are learning disabilities can use webquest to practice themselves anywhere and anytime. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TRITRAPORN TUNJEE.pdf | 7.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.