Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/120
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประมุข ชูสอน | - |
dc.contributor.author | กนกพร พอกพูน | - |
dc.date.accessioned | 2021-12-15T04:04:56Z | - |
dc.date.available | 2021-12-15T04:04:56Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/120 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการจัดการเรียนรู้ 2) ระดับความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนรู้ 3) แนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จานวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามชนิดตอบสนองคู่ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ค่าความต้องการจำเป็นผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ระดับความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนรู้ เรียงตามลำดับ 3 ลำดับแรก ดังนี้ (1) ด้านพัฒนาระบบสารสนเทศ (2) ด้านเครือข่ายร่วมพัฒนา (3) ด้านการมีส่วนร่วมของบุคลากร 3) แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ มีดังนี้ (1) จัดอบรมให้บุคลากรมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (2) สนับสนุนให้บุคลากรและเครือข่ายร่วมปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา (3) สนับสนุนให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการนิเทศทางการศึกษา (4) กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดเชิงระบบ และคิดวิเคราะห์ (5) ปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในโรงเรียนให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | โรงเรียนประถมศึกษา -- การศึกษาและการสอน -- ปทุมธานี -- วิจัย | en_US |
dc.subject | โรงเรียนประถมศึกษา -- เขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1 | en_US |
dc.title | การศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 | en_US |
dc.title.alternative | The study of learning management in primary schools under Pathumthani Primary Educational Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed to investigate the current status and the expected status of learning management of primary school teachers, to explore their needs for learning management, and to propose possible approaches for the development of learning management. The subjects were 327 teachers from primary schools under Pathumthani Primary Educational Service Area Office 1. The research employed a set of questionnaires with dual-response format. The data were analysed to discover means and standard deviation in addition to need analysis. The result revealed that the overall current learning management was at a high level whereas the overall expected learning management was at a highest level. In terms of needs for learning management, three highest mean scores were displayed by information technology development, cluster partnerships, and personnel participation, respectively. The research proposed five approaches for their learning management. First of all, there should be information technology training for personnel. Secondly, personnel and cluster partnerships should be allowed to take part in the improvement of the curriculums of their schools. Thirdly, personnel should be allowed to take part in educational supervision. Fourthly, students should be encouraged to think systematically and analytically. Finally, the school environment landscape should be improved to meet desirable learning environments. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การบริหารการศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | EDU-EA-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanokporn Porkpoon.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.