Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1221
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์, รัชนี นามจันทรา | - |
dc.contributor.author | อนัญญา ภาระพรมราช | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T02:10:22Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T02:10:22Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1221 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับการดูดเสมหะในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤต โดยเปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในหลอดเลือดแดง การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ ได้แก่ ความดันโลหิต (ความดันเลือดแดงเฉลี่ย) อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ภายหลังการดูดเสมหะทันที ภายหลังการดูดเสมหะ 5 และ 15 นาที และอัตราการบาดเจ็บของเยื่อบุหลอดลมภายหลังการดูดเสมหะ ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการดูดเสมหะตามมาตรฐาน และกลุ่มที่ได้รับการดูดเสมหะตามแนวปฏิบัติฯ กลุ่มที่ได้รับการดูดเสมหะตามมาตรฐาน มีจำนวน 12 คน กลุ่มที่ได้รับการดูดเสมหะตามแนวปฏิบัติฯ มีจำนวน 8 คน ได้รับการดูดเสมหะ รวมกลุ่มละ 98 ครั้ง เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกผลลัพธ์จากการดูดเสมหะ และแนวปฏิบัติการพยาบาลสาหรับการดูดเสมหะในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤต ที่ประยุกต์มาจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ของ NSW Agency for Clinical Innovation ประเทศออสเตรเลีย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย (ความถี่ และร้อยละ) Chi-Square, Fisher’s Exact Test และ Independent sample t-test ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มที่ได้รับการดูดเสมหะตามแนวปฏิบัติฯ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงของระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดแดง อัตราการเปลี่ยนแปลงของความดันโลหิต (ความดันเลือดแดงเฉลี่ย ) อัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจ และอัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราการหายใจ หลังการดูดเสมหะทันที 5 และ 15 นาที น้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูดเสมหะตามมาตรฐานอย่างมีนัยสาคัญ (p >.05) ส่วนอัตราการเกิดการบาดเจ็บของเยื่อบุหลอดลม กลุ่มที่ได้รับการดูดเสมหะตามมาตรฐานและกลุ่มที่ได้รับการดูดเสมหะตามแนวปฏิบัติฯ ไม่แตกต่างกัน (p >.05) ผลวิจัยครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า แนวปฏิบัติการพยาบาลสาหรับการดูดเสมหะในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤตนี้ สามารถนาไปใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และป้องกันผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการดูดเสมหะได้ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต | en_US |
dc.title | ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลสาหรับการดูดเสมหะในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤต | en_US |
dc.title.alternative | Outcomes of clinical practice guidelines for endotracheal suctioning in adult patients in intensive care unit | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this quasi-experimental design were to study outcomes of clinical practice guidelines for endotracheal suctioning in adult patients in intensive care unit by comparing the changing rate of oxygen saturation level, vital signs: blood pressure (mean arterial pressure), heart rate, respiratory rate after suction immediately, 5 and 15 minutes and rate of tracheal wall injury after suction between standard care for endotracheal suctioning group and clinical practice guidelines for endotracheal suctioning group. There were 12 patients in standard care for endotracheal suctioning group and 8 patients in clinical practice guidelines for endotracheal suctioning group. There were 98 times of suctions in each group. Research tools were demographic data sheet, outcomes of clinical practice guidelines for endotracheal suctioning record sheet and clinical practice guidelines for endotracheal suctioning in adult patients in intensive care unit which applied from evidence-based of NSW Agency for Clinical Innovation, Australia. Descriptive statistics (frequency and percentage), Chi-Square, Fisher’s Exact Test and Independent sample t-test were used in data analysis. The results of this study revealed that the changing rate of oxygen saturation level, vital signs: blood pressure (mean arterial pressure), heart rate, respiratory rate after suction immediately, 5 and 15 minutes in clinical practice guidelines for endotracheal suctioning group were significantly lesser than those of standard care for endotracheal suctioning group (p<.05), rate of tracheal wall injury after suction in standard care for endotracheal suctioning group and in clinical practice guidelines for endotracheal suctioning group were not different (p>.05). The result of this study showed that clinical practice guidelines for endotracheal suctioning in adult patients in intensive care unit can be used for increasing effectiveness and preventing adverse outcomes of suction. | en_US |
dc.description.degree-name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Adult-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ANANYA PARAPROMRACH.pdf | 2.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.