Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำอ้อย ภักดีวงศ์, อำภาพร นามวงศ์พรหม-
dc.contributor.authorหนูไกร เพื่อนพิมาย-
dc.date.accessioned2022-08-11T02:28:03Z-
dc.date.available2022-08-11T02:28:03Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1223-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองชนิดสองกลุ่มวัดก่อนหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อการดูสุขภาพช่องปากและการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบาบัด กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบาบัดในโรงพยาบาลจุฬาภรณ์จานวน 35 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลปกติตามมาตรฐานของโรงพยาบาล และกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ตามกรอบแนวคิดของโอเร็มเป็นเวลา 3 เดือน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล การดูแลสุขภาพช่องปาก และแบบบันทึกการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบ (CTCAE version 3.0) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยายและ Mann-Whitney U Test, Wilcoxon Signed Ranks Test, Fisher’s Extract Test, Independent t-test และ Chi-Square การวิจัยพบว่าการดูแลสุขภาพช่องปากหลังเข้าโปรแกรมของกลุ่มทดลองดีกว่าก่อนการเข้าโปรแกรมและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบที่ประเมินจากอัตราการเกิด ความรุนแรงของเยื่อบุช่องปากอักเสบ วันที่เริ่มเกิด และระยะเวลาที่เกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบ พบว่าก่อนและหลังเข้าโปรแกรมไม่แตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมพบว่าอัตราการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบ ความรุนแรงของการเกิด และระยะเวลาที่เกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนวันที่เริ่มเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบพบว่าไม่แตกต่างกันen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectช่องปาก -- การดูแลและสุขวิทยา -- วิจัยen_US
dc.subjectการดูแลสุขภาพen_US
dc.subjectผู้ป่วยมะเร็งศีรษะen_US
dc.titleการดูแลสุขภาพช่องปากและการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบภายหลังได้รับโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอen_US
dc.title.alternativeOral care and oral mucositis after the supportive-educative nursing program in patients with head and neck canceren_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objective of this quasi-experimental two groups pre-posttest design was to investigate the effect of the educative-supportive nursing program on oral care and oral mucositis in the head and neck cancer patients receiving chemotherapy. Thirty-five purposive sample groups in Chulabhorn Hospital were divided into 2 groups. The control group was received standard nursing care as usual, whereas the experimental group participated the educative-supportive nursing program for 3 months. The instruments consisted of demographic data sheet, oral care behavior questionnaire and oral mucositis recording form. Data were analyzed by Descriptive statistics, Mann-Whitney U Test, Wilcoxon Signed Ranks Test, Fisher’s Extract Test, Independent t-test and Chi-Square. The result revealed that after the program, the oral care behaviors of the experimental group were significantly higher scores than before the program and significantly higher scores than control group (p<.05). Oral mucositis as evaluated by rate, duration and severity showed that the experimental group had significantly different from the control group (p<.05). While the onset day of the oral mucositis showed that no significantly differenten_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nukai Phueahimai.pdf10.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.