Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1227
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวารินทร์ บินโฮเซ็น, น้ำอ้อย ภักดีวงศ์-
dc.contributor.authorสุชาดา มีสัตย์-
dc.date.accessioned2022-08-11T07:33:30Z-
dc.date.available2022-08-11T07:33:30Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1227-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนา แบบ Retrospective Study มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพด้านกระบวนการและด้านผลลัพธ์ของการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ที่เข้ามารับการรักษาที่แผนกฉุกเฉิน โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ที่ใช้ระบบ Fast track โดยใช้ The Nursing Role Effectiveness Model ตามแนวคิดของ Irvine, et al. (1998) เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง คือ เวชระเบียนของผู้ที่เข้ามารับการรักษาและได้รับการ Activate STEMI Code ที่แผนกฉุกเฉิน ตั้งแต่เดือน มกราคม 2554 จนถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 จำนวน 81 ราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบบันทึกข้อมูลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบไปด้วย ส่วนที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบบันทึกข้อมูลด้านสุขภาพ ส่วนที่ 3 แบบบันทึกการจัดการดูแลด้านกระบวนการตามแนวปฏิบัติ และส่วนที่ 4 แบบบันทึกผลลัพธ์การจัดการดูแลผลจากการวิจัยคุณภาพด้านกระบวนการการจัดการดูแลผู้ป่วยทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านบทบาทอิสระ ด้านบทบาทร่วมกับแพทย์ และด้านบทบาทร่วมกับบุคลากรทีมสุขภาพอื่นๆ พบว่าสามารถปฏิบัติได้ทั้งหมด 100 % คุณภาพการจัดการดูแลด้านผลลัพธ์ตามแนวปฏิบัติ Fast track พบว่า ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนได้รับการทำคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Door to EKG) ใช้เวลา ≤ 10 นาที ร้อยละ 95.1 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนได้รับการขยายหลอดเลือดที่อุดตันด้วยบอลลูน (Door to balloon time) ใช้เวลา ≤ 90 นาที ร้อยละ 92.6 ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนการจากทำหัตถการภายใน 24 ชั่วโมง ร้อยละ 97.5 ข้อเสนอแนะ ควรนำระบบ Fast track มาใช้เป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และได้ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนได้ทราบข้อมูลระบบ fast track เพื่อให้เข้าถึงบริการได้อย่างรวดเร็วen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการพยาบาลen_US
dc.subjectโรคหัวใจ -- การพยาบาลen_US
dc.subjectการดูแลผู้ป่วยen_US
dc.subjectโรงพยาบาลเอกชนen_US
dc.subjectคุณภาพการบริการen_US
dc.titleคุณภาพการจัดการดูแลผู้เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่แผนกฉุกเฉินโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งen_US
dc.title.alternativeQuality of care management in persons with acute myocardial infarction at the emergency department in a private hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis retrospective descriptive study aimed to study the quality of process and clinical outcomes of care management in persons with myocardial infarction type STEMI for those who came to an emergency department of a private hospital with the fast track system. Nursing Role effectiveness Model of Irvine and others (1998) was being used as the frame work of the study. The sample group was 81 registered patients who visited emergency department and were classified as Activate STEMI Code during January, 2012 to December, 2014. For this regard, the tool was the record form that was created by the researcher. It consists of part one: demographic information, part two: illness history, part three: nursing intervention process based on STEMI guide line and part four : the result after patients received care. The study has found that the quality of nursing intervention process in three dimensions including independent role, coordinating role with physicians and coordinating role with other health care team were reached 100% of capability. On the other hand, 95.1 % showed the fast track was being used since patients arrived and received EKG monitoring (Door to EKG) within 10 minutes or less. Also, 92.6 % showed that the patients arrived and received balloon insertion procedure (Door to balloon time) within 90 minutes or less and 97.5% showed that there was no complication of the procedure within first 24 hours. The fast track should be included in standard hospital guideline for management of STEMI. Furthermore, well inform the public regarding fast tract managed care system would improve rapid access to service.en_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchada Meesute.pdf7.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.