Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1298
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอำภาพร นามวงศ์พรหม, น้ำอ้อย ภักดีวงศ์-
dc.contributor.authorพัชรา อัมรินทร์พรชัย-
dc.date.accessioned2022-10-07T06:49:45Z-
dc.date.available2022-10-07T06:49:45Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1298-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาระบบการจัดการความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง โดยใช้ CURN Model เป็นกรอบแนวคิด กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นวิสัญญีพยาบาล 15 คน พยาบาลวิชาชีพประจำหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 11 คน และผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้องที่นอนพักในตึกศัลยกรรมชาย 20 คน ขั้นตอนการพัฒนาระบบประกอบด้วย 1) การแจกแจงปัญหา 2) การพัฒนาแนวปฏิบัติการจัดการความปวดหลังผ่าตัดช่องท้องโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และการพัฒนาบุคคลากรโดยการให้ความรู้เรื่องการจัดการความปวด 3) การติดตามนิเทศการใช้แนวปฏิบัติ ผู้วิจัยร่วมกับหัวหน้าตึกและหัวหน้าเวร มีการประชุมร่วมกับผู้ปฏิบัติเพื่อปรับใช้แนวปฏิบัติให้เหมาะสม และ 4)การประเมินผลลัพธ์การพัฒนาระบบ โดยวัดผลความรู้ของพยาบาลก่อนและหลังการพัฒนาระบบ การรับรู้ความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง ในห้องพักฟื้น 24, 48 และ 72 ชั่วโมงหลังการผ่าตัดที่หอผู้ป่วย และความพึงพอใจผู้ป่วยหลังการผ่าตัดช่องท้อง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงบรรยายและ Paired t - test ผลของการพัฒนาระบบพบว่าวิสัญญีพยาบาลและพยาบาลประจำหอผู้ป่วยศัลยกรรมชายมีความรู้เรื่องการจัดการความปวดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.005) ค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ความปวดของผู้ป่วยหลังการพัฒนาระบบที่ห้องพักฟื้น ใน 24, 48 และ 72 ชั่วโมง อยู่ในระดับที่ควบคุมได้ pain scores < 5) และคะแนนความพึงพอใจผู้ป่วยต่อการจัดการความปวดอยู่ในระดับดี (82.54%)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการพยาบาลผู้สูงอายุ -- วิจัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยen_US
dc.titleประสิทธิผลของระบบการพยาบาลในการจัดการความปวดในผู้ป่วยที่มีอาการปวดเฉียบพลันen_US
dc.title.alternativeThe effectiveness of nursing system on pain management in patients with acute painen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe aims of this study were to develop the nursing system for pain management and evaluate the effectiveness of the nursing system as measured by nurses knowledge, patients pain perception and satisfaction. A purposive sample of 15 nurse anesthetists, 11 registered nurses in a male surgical ward, and 20 postoperative patients were recruited for this study. CURN model was used as a conceptual model. The development process consisted of; (1) Problem identification, (2) Evidence based pain management protocol was developed, nurses were educated and trained, pre – post tests were carried out, (3) The researcher, head nurse and incharge nurses supervised and discussed with staff nurses regarding the use of the nursing protocol, and (4) The outcomes of pain management including nurses  knowledge, patients’ pain perception in the recovery room, and 24 ,48 and 72 hours in the ward and satisfaction with care of the patients were collected. Data were analyzed by descriptive statistics and paired t - test. The findings showed that the nurses’ knowledge of pain management after the nursing system development was significantly increased. (p=.005), Patients’ pain perception in the recovery room and 24, 48 and 72 hours after surgery were under controlled (pain scores < 5). The patients’ satisfaction with pain management was at a good level (82.54%)en_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PHATCHARA UMMARINPHONCHAI.pdf6.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.