Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1305
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สานนท์ ฉิมมณี | - |
dc.contributor.author | พีระเดช สำรวมรัมย์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-10-12T05:45:24Z | - |
dc.date.available | 2022-10-12T05:45:24Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1305 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ )) -- มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การพัฒนางานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาระบบสาหรับรองรับการใช้งานโทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟน (Smartphone) ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android Operating System) และอุปกรณ์รับสัญญาณดาวเทียมจีพีเอส (GPS Satellite) ในโทรศัพท์ เพื่อระบุพิกัดตาแหน่งของอุปกรณ์ ณ เวลาปัจจุบัน ซึ่งการใช้โทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟนรับสัญญาณจากดาวเทียมจีพีเอสและส่งสัญญาณผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G ในงานวิจัยนี้ จะมุ่งเน้นไปที่การเขียนโปรแกรมเพื่อนามาใช้งานร่วมกับระบบดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้แบบกึ่งอัตโนมัติ และทาการทดสอบโปรแกรมที่เขียนขึ้น โดยมุ่งเน้นไปที่ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง STROKE และ STEMI ซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่อาเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี โดยให้ผู้ป่วยอาสาสมัครตาบลสร้างคอม ตาบลบ้านโคก ตาบลหินโงม ตาบลบ้านยวด ตาบลเชียงดาและตาบลนาสะอาด อาเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี จานวน 32 ครอบครัว ใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่ติดตั้งแอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นส่งสัญญาณเข้าสู่ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเว็บไซต์ผู้พัฒนาผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผลการวิจัยพบว่าระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถแสดงพิกัดอุปกรณ์อาสาสมัครบนแผนที่ได้จานวน 30 คน การติดตามค้นหาผู้ป่วยที่ส่งสัญญาณมาแสดงผลเป็นพิกัดตาแหน่งบนแผนที่พบว่ารถพยาบาลฉุกเฉิน สามารถเดินทางค้นหาผู้ป่วยตามพิกัดแผนที่ได้ 30 คน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การพัฒนาระบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ระบบบริการการให้บริการ | en_US |
dc.subject | การแพทย์ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ผู้ป่วย | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบระบุพิกัดผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยง Stroke และ Stemi ที่ต้องได้รับบริการจากระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน แบบเคลื่อนที่ | en_US |
dc.title.alternative | Development of tracking system for Identifying stroke and stemi risk patient group : a case of emergency medical service system | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This project is System development for smartphone user that include Android Operating System and has Global Positioning System tracking inside. This development can identified the coordinating device for real time by sending location via 3G cellular phone signal.The target of this development is software system intregration for semi-automatic using in smartphone and demonstrating the software system. Target group of this project is STROKE and STEMI risk group patients in case of helping need for the Emergency medical service system that live in countryside in Noth-Eastern of Thailand and cover by 3G cellular phone signal. Volunteers in this project are patients who live in Amphur Sangkhom include Ban Khok canton , Sangkhom canton , Hin-ngom canton , Ban-yuad canton , Chiengda canton and Na-sa-art canton. There are amout 32 volunteers. These volunteers used smartphone that installed the development application name iEMS application to send coordination and orther data to this project website. These results show that thirty coordinates and orther data signal can show icons on google map on project’s website. Tracking all volunteers that show on project’s website could found by Sangkhom emergency medical service team. | en_US |
dc.description.degree-name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
Appears in Collections: | ICT-ITM-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pheeradetch Samroumram.pdf | 19.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.