Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1314
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอนก เหล่าธรรมทัศน์-
dc.contributor.authorณรงค์เดช แก้วอุย-
dc.date.accessioned2022-10-21T03:30:52Z-
dc.date.available2022-10-21T03:30:52Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1314-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัย เรื่อง การประเมินผลโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) เป็นการวิจัยที่มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นมาของโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและ ชุมชน (SML) เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ในระดับผลลัพธ์และผลกระทบ ของโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) และเพื่อสำรวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) สำหรับวิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็น การวิจัยประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) และเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เพื่อให้ได้ผลการประเมินเชิงลึกที่ครอบคลุมมิติการ ประเมินทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การประเมินปัจจัยนำเข้า การประเมินกระบวนการบริหารจัดการ การประเมินผลผลิต การประเมินผลลัพธ์ และการประเมินผลกระทบ สรุปผลการวิจัยได้ว่า ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของโครงการสามารถดำเนินการตามโครงการ SML ให้เป็นไปตามแนวทางที่รัฐบาลกำหนด ซึ่งจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ในระดับผลลัพธ์และผลกระทบ ของโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน(SML) พบว่าหมู่บ้าน/ชุมชนได้รับการจัดสรรงบประมาณตามขนาดของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อจัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ซึ่งทำให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากสิ่งปลูกสร้าง สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบสาธารณูปโภค รวมถึงโครงการ SMLสามารถส่งเสริมอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้แก่ประชาชน ทำให้ปัญหาความยากจนลดลง และการที่ผู้ว่างงานหรือผู้มีรายได้น้อย ได้รับการส่งเสริมประชาชน ทำให้ปัญหาความยากจนลดลง และการที่ผู้ว่างงานหรือผู้มีรายได้น้อย ได้รับการส่งเสริมให้มีอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหมู่บ้าน/ ชุมชน และสนองตอบกับความต้องการที่แท้จริง เกิดการเรียนรู้การบริหารจัดการ การรู้บทบาทหน้าที่ มีความรับผิดชอบร่วมกันของประชาชนผลกระทบที่เกิดขึ้นในด้านสังคม ได้แก่ ประชาชนมีความร่วมมือ ร่วมใจ มีส่วนร่วมสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีความสามัคคี ช่วยเหลือ เอื้ออาทรต่อกัน ในด้านการเมือง ได้แก่ เกิดประชาธิปไตยในหมู่บ้าน/ชุมชน เกิดการปกครองแบบมีส่วนร่วม และในด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนมีความรู้ความสามารถ และทักษะในการบริหารจัดการด้านการเงินของชุมชน ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนได้รับการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งนี้ผู้วิจัยได้มีข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย และข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ เพื่อให้รัฐบาลนำไปใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องต่อไปผู้วิจัยหวังไว้ว่า ผลงานการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางให้แก่ประชาชน กลุ่มผู้นำท้องถิ่นกลุ่มผู้นำท้องที่ ให้สามารถดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลที่ดำเนินการในหมู่บ้านและชุมชนได้เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืนและพึ่งตนเองได้ในที่สุดen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการพัฒนาศักยภาพen_US
dc.subjectชุมชน -- ไทยen_US
dc.subjectการจัดการen_US
dc.titleการประเมินผลโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML)en_US
dc.title.alternativeEvaluation of the development of capabilities of SML villages and communities projectsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis study aims to (1) investigate the development of capabilities of the SML villages and communities projects in order to evaluate the level of result orientation in terms of their outcome and impact; (2) study the encountered problems and obstacles and their resolutions; and (3) to survey residents’ satisfaction with the projects. The research methodology was based on a mixed method, a combination between quantitative and qualitative research. To evaluate the result orientation of the above projects, the in-depth evaluation was done through descriptive research, which covered all five dimensions: input, process, output, outcome and impact. The result showed that people understood the objectives of the projects as determined by the government’s policy. And from an evaluation of their result orientation in term of its outcome and impact of the projects, it was found that budgets were properly allocated to the villages and communities in accordance with their sizes. This resulted in people benefiting from the structures, facilities, public utility systems, including vocational promotion to increase income, which, in turn, helps reduce poverty and unemployment. With this, the unemployed and those with less income have received support of their both main and supplementary careers. This was beneficial to problem resolutions of the villages/communities and responded to the real need of the people. All in all, they learn about management, realize their roles, duties, and common responsibility. The social impacts resulted from the project covered cooperation, collaboration, participation, self-help, team work/esprit de corps, and consideration. Their political impacts included democracy within the villages/communities, and participatory governance. The economic impacts led to competence of the village/community among the dwellers, skills in financial management of the communities, and sustainable development. The finding of this research lend themselves as academic and practical recommendation for the people and their local leaders to proceed their operation in line with the government’s policy so that they can sustainably developtheir villages and communities and self-help in the years to come.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narongdej Kaew-Oui.pdf17.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.