Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1319
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรถพล ควรเลี้ยง, กมล สุปรียสุนทร | - |
dc.contributor.author | จิตตา ปรีชาวัน | - |
dc.date.accessioned | 2022-10-21T08:46:58Z | - |
dc.date.available | 2022-10-21T08:46:58Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1319 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม)) --มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอผลการวิจัยการศึกษาผู้หญิงที่ตกเป็นเหยื่อในคดีประทุษร้าย การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ทาให้ผู้หญิงตกเป็นเหยื่อในคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ โดยเลือกศึกษาเฉพาะกรณีคดีที่เกิดในเขตอาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เพื่อนาไปสู่แนวทางการป้องกันและการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ผลการวิจัย ผู้หญิงที่ตกเป็นเหยื่อในคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ พบว่า สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ความเจริญแบบสังคมเมือง สภาพเศรษฐกิจ สภาพการเมืองการปกครอง สภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ต่างๆเหล่านี้ มีผลต่อการเกิดอาชญากรรมในสังคมจากจานวนคดีอาชญากรรมที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ โดยวิธีการและรูปแบบของการก่ออาชญากรรมรุนแรงมากขึ้น ซึ่งทาให้ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อได้รับบาดเจ็บ สภาพแวดล้อมภูมิทัศน์มีความเสี่ยงในการเกิดอาชญากรรมและผู้เสียหายไม่สามารถหลีกเลี่ยงที่จะไม่ไปในสถานที่เช่นว่านั้นได้ การป้องกันภัยและความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนไม่ค่อยมี การประชาสัมพันธ์โครงการกิจกรรมการรณรงค์การป้องกันปัญหาอาชญากรรมไม่เป็นที่แพร่หลาย ผู้เสียหายรับรู้ข่าวสารกิจกรรมน้อยมากและแทบทั้งหมดของผู้เสียหายไม่เคยเข้าร่วมโครงการเลย รวมทั้งจานวนเจ้าหน้าที่ตารวจไม่สัมพันธ์กับจานวนประชากรในท้องที่ ทาให้การตรวจตราดูแล แก้ไขปัญหา และการดาเนินการจับกุมคนร้ายเป็นไปอย่างล่าช้าและไม่ทั่วถึง ดังนั้น ความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนในการแก้ไขป้องกันปัญหาอาชญากรรมในกรณีประทุษร้ายต่อทรัพย์ เพื่อความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่อ่อนแอ รวมทั้งเป็นการลดจานวนการเกิดอาชญากรรมในกรณีประทุษร้ายต่อทรัพย์ด้วยเช่นกัน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | เหยื่อ | en_US |
dc.subject | ผู้เสียหาย | en_US |
dc.subject | ลักทรัพย์ | en_US |
dc.subject | ผู้หญิง -- ไทย -- ปทุมธานี | en_US |
dc.title | การศึกษาผู้หญิงที่ตกเป็นเหยื่อในคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ : ศึกษาเฉพาะกรณีคดีที่เกิดในอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี | en_US |
dc.title.alternative | study of female victims of property crime : case study in Thanyaburi district, Pathum Thani province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research is aimed to study female victims of property crime in order to prevent female from being victims of property crime, and to find the solution. The information was gathered according to lawsuits occurred inThanyaburi district, PathumThani Province. The findings demonstrates that the factors of being crime victims caused by social development-urbanization, state of economy, state of politics, insecure townscape, lacking of cooperation between government sector and private sector. In summary, the cooperation of both government sector and private sector is the most important factor to protect citizen, decrease the crime tendency, and resolving the criminal problems. | en_US |
dc.description.degree-name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม | en_US |
Appears in Collections: | CJA-CJA-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jitta Preechawan.pdf | 7.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.