Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/132
Title: แนวทางการพัฒนาครูเพื่อเข้าสู่ความเป็นครูดี ระดับชั้นประถมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Other Titles: Guidelines for teachers' professional excellence at primary education level of the office of the basic education commission
Authors: ฉัตรวี ลิ้มสกุล
metadata.dc.contributor.advisor: อัญชลี ชยานุวัชร
Keywords: ครู -- การพัฒนา -- วิจัย;ครู -- การบริหารองค์ความรู้;ครู -- คุณลักษณะที่พึงประสงค์
Issue Date: 2562
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การวิจจัยนี้เป็นการวิจยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลำดับบความสำคัญของ คุณลักษณะของคร ูตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2) ศึกษาความสอดคลองระหว่างระดับความสำคัญ และระดับการปฏิบัติต่อคุณลักษณะของครูดีของครูระดับช้ันประถมศึกษา สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มจงหวัดภาคกลางตอนบนในประเทศ และ 3) หาแนวทาง การพัฒนาครูเพื่อเขาสู่วามเป็นครูดีกลุ่มตัวอย่างที่ใชในการศึกษาคือครูระดบชั้นประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นนพื้นฐาน กลุ่มจงหวัดภาคกลางตอนบนในประเทศไทย จำนวน 436 คน และกลุ่มผ้ให้ข้อมูลหลักในการสัมภาษณ์ได้แก่ครูที่ได้รับรางวัลครูสดุดีระดบชั้น ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มจงหวัดภาคกลางตอนบนใน ประเทศไทย ประจาปี 2561 จำนวน 9 คน และกรรมการคัดเลือกผู้รับรางวัลครูสดุดีจำนวน 9 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบ สัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง (Semi-Structured Interview) โดยใช้การสัมภาษณ์เดี่ยวเชิงลึก (In-Depth Interview) การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ค่าร้อยละค่าความถี่ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานใช้การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายด้าน ด้วย Wilcoxon Signed Ranks Test การหาคุณภาพของเครื่องมือใช้ค่าดัชนี IOC แบบสอบถาม และ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ สัมภาษณ์ใช้ทฤษฎีการวิเคราะห์ข้อมูลทฤษฎีฐานรากและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูให้ความสำคัญต่อคุณลกษณะของครูดีตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู มากที่สุด คือครูต้องรักศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร วิชาชีพ 2) ครูให้ความสําคญกับระดับความสำคัญของคุณลักษณะครูดีมากกว่าระดับการปฏิบัติ ตนเองในทุกด้าน 3) แนวทางการพัฒนาครูเพื่อเข้าสู่วามเป็นครูดีพบว่าคุณลักษณะของครูดีที่ควร ได้ร้บการพัฒนา ประกอบด้วย ด้านจิตใจ ดานความเป็นครูด้านทักษะการสอนและการวิจัย ด้าน ทักษะการทำงาน ด้านการครองตนและปรัชญาที่ใชในการดำเนินชีวิต และด้านความสัมพันธ์กับ ชุมชน เมื่อได้ผลการวิจัยแล้วผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยไปตรวจสอบยืนยันผลการวิจัยกับผั ูเชี่ยวชาญ จำนวน 6 คน พบว่า มีความเห็นสอดคลองตรงกันกับผลการวิจัยสามารถนาผลการวิจัยไปใช้เป็น แนวทางการพัฒนาครู เพื่อเข้าสู่ความเป็นครูดีได้
metadata.dc.description.other-abstract: This study aims to 1) examine the prioritization of teachers’ characteristics following the code of ethics of teaching profession, 2) investigate the correlation between such prioritization and the level of practice among primary school teachers under the Office of the Basic Education Commission (the upper central regional group), and 3) propose guidelines for teachers’ professional excellence development. The samples in the study were 436 primary school teachers under the Office of the Basic Education Commission (the upper central regional group). The key informants who were purposively selected were nine teachers who were granted the Distinguished Teacher Award 2018 under the Basic Education Commission and nine selection committees of the Distinguished Teacher Award. The method used to elicit the data was an in-depth interview and semi-structured interview. The statistics used in the data analysis consisted of percentage, frequency, means, and standard deviation. In order to test the hypothesis, the difference in the means was tested using Wilcoxon Signed Ranks Test. In addition, the validation of the research instrument was also investigated using IOC index, questionnaire, and Cronbach’s Alpha Coefficient. The analysis of the data from the interview was based upon grounded theory and contextual analysis. The results of the study revealed that teachers’ characteristics mostly prioritized by the samples were faithfulness and honesty towards the profession, and teachers were likely to pay more attention to the prioritization of teachers’ characteristics than the level of practice in every aspect. Considering the guidelines for the teachers’ professional excellence development, it was found that the characteristics that should be further developed consisted of mindsets, teacher professionalism, instruction and research skills, working skills, philosophy of living, and relations with community. The research results were confirmed and approved by six experts and could be the guideline for the development of teachers’ professional excellence.
Description: ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด. (การศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562
metadata.dc.description.degree-name: ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาเอก
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การศึกษา
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/132
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-ES-D-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chatrawee Limsakul.pdf7.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.