Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1376
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เฉลิมพล แก้วใจ | - |
dc.date.accessioned | 2023-01-25T08:00:05Z | - |
dc.date.available | 2023-01-25T08:00:05Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1376 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียของ ความร้อนสูงจากแผ่นเซรามิคกับตะเกียงบุนเซน โดยเครื่องอาศัยหลักการถ่ายเทความร้อนโดยตรง เพื่อประโยชน์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ใช้ในการทดลอง กลุ่มแบคทีเรียทางการแพทย์และแบคทีเรีย ที่สร้างสปอร์ได้ เชื้อแบคทีเรียทางการแพทย์ ได้แก่ Pseudomonas aeruginosa, Salmonella Typhimurium, Enterococcus faecalis, Enterobacter aerogenes, Escherichia coli, Staphylococcus aureus และแบคทีเรียที่สร้างสปอร์คือ Geobacillus stearothermophilus โดยเพาะเลี้ยงเชื้อใน TYG medium นาน 24 ชั่วโมงแล้วนำมาวัดความขุ่นที่ 540 nm จากนั้นทำการเจือจางเทียบกับความขุ่นที่เหมาะสม พบว่าเปอร์เซ็นการรอดชีวิตของแบคทีเรียหลังจากถูกฆ่าด้วยความร้อน ทำการวัดโดยวิธีstandard loop inoculation นับจำนวนโคโลนีของแบคทีเรีย และกำหนดเวลาทดลองที่อุณหภูมิต่างๆแบคทีเรียจะถูกฆ่าตายอย่างสมบูรณ์ จากผลการทดลองพบว่า ที่อุณหภูมิ 135C ทำให้แบคทีเรียตายทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบ แบคทีเรียที่สร้างสปอร์ถูกฆ่าด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 55C เวลา 5 นาที พบว่าเชื้อรอดชีวิต ร้อยละ 75 เทียบกับแบคทีเรียที่ก่อโรคจะถูกฆ่าด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 55C เวลา 5 นาทีอย่างสมบูรณ์ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ พบว่าการประสิทธิภาพการลดลงของเชื้อแบคทีเรียทางการแพทย์ด้วยความ ร้อนที่อุณหภูมิสูงสุดคือ 55C ยกเว้นแบคทีเรียที่สามารถสร้างสปอร์ ผลที่ได้จากการทดลองนี้ เครื่องมือทั้งสองสามารถลดจำนวนของแบคทีเรียได้ โดยเครื่องที่พัฒนาจากแผ่นเซรามิคนี้มี ประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยสามารถนำมาใช้ในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ได้ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ห้องปฏิบัติการ -- เครื่องมือและอุปกรณ์ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ห้องปฏิบัติการทางแพทย์ -- การควบคุมคุณภาพ | en_US |
dc.title | รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การศึกษาประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการทำลายเชื้อด้วยความร้อนสูงจากแผ่นเซรามิคที่พัฒนาเป็นอุปกรณ์ สำหรับใช้ในห้องปฏิบัติการทางแพทย์ | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | This study was to determine the efficacy of sterilization method between Ceramic heater and Bunsen burner. Medical bacteria and spore forming bacteria were reduced by direct heat condition followed. Viable of pathogenic bacteria are Pseudomonas aeruginosa, Salmonella Typhimurium, Enterococcus faecalis, Enterobacter aerogenes, Escherichia coli, Staphylococcus aureus and spore forming bacteria is Geobacillus stearothermophilus were cultured in TYG medium for 24 hours and measured turbidity at 540 nm then diluted for optimum turbidity. Percentages of viable bacteria after exposed heat were measured by standard loop inoculation on counting plate method. Secondly, time set were recorded depends with vary temperatures. Bacteria were completely killed by constantly temperature average of 135 oC. Comparing spore forming bacteria was treated with temperature at 55 oC for 5 mins was showed 75 percent of viability. Pathogenic bacteria were completely killed at 55 oC for 5 mins, respectively. This the first study to determine the medical pathogenic bacteria with optimum temperature were reduced viability with heat dependable except the spore forming bacteria. Both instruments can reduce amount of bacteria in second but Ceramic heater is safety and given more efficient to use in medical laboratory. | en_US |
Appears in Collections: | MeT-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chalermpon Kaewjai.pdf | 3.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.