Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1384
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชิดชไม วิสุตกุล-
dc.date.accessioned2023-01-26T02:07:50Z-
dc.date.available2023-01-26T02:07:50Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1384-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาชุมชนการเรียนรู้โดยผสมผสานเทคโนโลยีเพื่อเสริมสร้างทักษะการวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ทางการวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการปฏิบัติงานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และ 4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อชุมชนการเรียนรู้ฯ ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต จังหวัดปทุมธานี ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จานวน 12 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) ชุมชนการเรียนรู้ทางการวิจัยของผู้เรียนแบบผสมผสานเทคโนโลยีมีลักษณะเป็นเว็บไซต์ร่วมกับการเรียนการสอน 2) แบบทดสอบวัดความรู้และทักษะการทาวิจัยทางการศึกษา 3) แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติงานวิจัยทางการศึกษา และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที (t-test for dependent samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุมชนการเรียนรู้โดยผสมผสานเทคโนโลยีเพื่อเสริมสร้างทักษะการวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย (1) ปัจจัยนาเข้า (2) กระบวนการเรียนการสอน (3) ผลการเรียนรู้ และ (4) ข้อมูลย้อนกลับ 2) นักศึกษามีคะแนนผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ทางการวิจัยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักศึกษามีความสามารถในการปฏิบัติงานวิจัยอยู่ในระดับมาก (x = 3.93) และ 4) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อชุมชนการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับมาก (x = 4.42, S.D.=0.47)en_US
dc.description.sponsorshipศูนย์เรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherศูนย์เรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการเรียนรู้ -- การพัฒนาen_US
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาen_US
dc.subjectนวัตกรรมทางการศึกษาen_US
dc.titleการพัฒนาชุมชนการเรียนรู้โดยผสมผสานเทคโนโลยีเพื่อเสริมสร้างทักษะการวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาen_US
dc.title.alternativeDevelopment of learning community by integrating technology to enhance research skills of graduate studentsen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThis study aimed to 1) develop learning community by integrating technology to enhance research skills of graduate students, 2) study graduate students’ research skills learning achievement, 3) study graduate students’ research work ability, and 4) assess graduate students’ satisfaction towards the learning community. The quasi-experimental research method was applied and the sample group was selected by using a purposive sampling method, including 12 first year graduate students of Suryadhep Teachers College, Rangsit University, Pathum Thani in Semester 1 of 2020 Academic Year. The instruments included 1) learner’s research learning community by integrating technology in the form of website for learning and teaching, 2) a knowledge and educational research skills assessment form, 3) an educational research work ability assessment form, and 4) a graduate students’ satisfaction assessment form. Percentage, mean and standard deviation (SD) as well as t-test for dependent samples were applied for statistical analysis. The results revealed that 1) the development of community learning integrated into learning and teaching showed the highest level of suitability and the four factors consist of (1) Input (2) Process of learning (3) Output and (4) Feedback, 2) the graduate students showed the higher research learning achievement after using the community than before using it with the significant level at .05, 3) students exhibited the high level of research work ability (x = 3.93), and 4) the students had a high level of satisfaction towards the learning community (x = 4.42, S.D.=0.47).en_US
Appears in Collections:EDU-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chidchamai Visuttakul.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.