Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1386
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปรานม ดีรอด | - |
dc.date.accessioned | 2023-01-26T02:12:39Z | - |
dc.date.available | 2023-01-26T02:12:39Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1386 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์รายวิชาการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยรังสิต ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 50 คน โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์รายวิชาการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสื่อ ด้านเนื้อหา และด้านการวัดผล ตรวจสอบคุณภาพและความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ค่าความยากง่าย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ค่าเฉลี่ย (𝑥̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยการทดสอบ t-test (Dependent Samples) ที่ระดับ α= .05 ผลการศึกษาพบว่า ผลการประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์รายวิชาการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมมาก (4.21 ± 0.22) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์รายวิชาการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (4.35 ± 0.08) โดยผู้เรียนมีความเห็นว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ช่วยให้ผู้เรียนมีความสะดวกและความคล่องตัวของการเลือกหัวข้อเรียนได้ตามความสนใจ เนื้อหาและความรู้ที่ได้จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถพัฒนาการเรียนรู้ของผู้ที่เรียนช้าในห้องเรียนปกติ | en_US |
dc.description.sponsorship | ศูนย์เรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | ศูนย์เรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ -- การศึกษาการใช้ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์รายวิชาการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | Effectiveness of electronic book in the subject of exercise for health among undergraduate students, Rangsit University | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | This study aims to develop the E-Book for Exercise for Health’s course. Also, this research has the purpose to study the learning achievement and satisfaction after using the E-Book.The research samples of this study include the purposive sampling of 50 undergraduate students of Rangsit University who took the Exercise for Health’s course of semester 1, the academic year 2019. In order to elicit data, the E-Book for Exercise for Health’s course, the quality evaluation form, the achievement evaluation form, and the satisfaction evaluation form were used. By having an expert in the field of media, content, and evaluation check quality and content validity. The statistics were used in this research include the Index of Item – Objective Congruence (IOC), difficulty (p), discrimination (r), Reliability, mean (𝑥̅), and the Standard Deviation (S.D.). Then compare the results of the learning achievement between before and after learning with the Dependent Samples t-test at the level of α = 0.05 The findings show that the quality evaluation results of the Exercise for Health’s E-Book were in the most suitable criteria (4.21 ± 0.22). The learning achievement of students after studying was higher than the achievement with statistical significance at the level of 0.05. And the results of the satisfaction of students in using the E-book for Exercise for Health was at a high level (4.35 ± 0.08). Learners have the idea that the E-book helps students with the convenience and flexibility of choosing subject topics based on interests, content, and knowledge from the E-book that can improve the learning of those who are the slow learners in the normal classroom. | en_US |
Appears in Collections: | SpI-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pranom Deerod.pdf | 2.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.