Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเพ็ญนภา เสาร์คำ-
dc.date.accessioned2023-01-26T02:38:00Z-
dc.date.available2023-01-26T02:38:00Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1393-
dc.description.abstractฟิล์มติดกระพุ้งแก้มชนิดละลายในช่องปากเป็นเภสัชภัณฑ์ที่ละลายและปลดปล่อยตัวยาออกมาอย่างรวดเร็วเมื่อวางไว้บนลิ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและเชิงกลของฟิล์มติดกระพุ้งแก้มชนิดละลายในช่องปากที่ประกอบด้วยสารประกอบเชิงซ้อนของไดโคลฟีเนค โซเดียมและเบต้าไซโคลเด็กซ์ตรินด้วยการขึ้นรูปโดยใช้ตัวทำละลาย พบว่า ชนิดและปริมาณของพลาสติไซเซอร์ ปริมาณของเบต้าไซโคเด็กซ์ตริน สารเพิ่มความหวานและตัวยาไดโคลฟีเนค โซเดียมส่งผลต่อคุณสมบัติของฟิล์มติดกระพุ้งแก้มชนิดละลายในช่องปากที่เตรียมได้ การเพิ่มความเข้มข้นของพลาสติไซเซอร์ในสูตรตำรับทำให้เวลาในการแตกตัว ความแข็งและความยืดหยุ่นของฟิล์มเพิ่มขึ้น แต่เมื่อมีเบต้าไซโคเด็กซ์ตรินอยู่ในสูตรตำรับ คุณสมบัติทางกายภาพและเชิงกลลดลงยกเว้นความยืดหยุ่น ฟิล์มที่ประกอบด้วยสารประกอบเชิงซ้อนของไดโคลฟีเนค โซเดียมและเบต้าไซโคลเด็กซ์ตรินจะเปราะและใสมากกว่าฟิล์มที่ไม่มีสารประกอบเชิงซ้อน ซึ่งเป็นผลมาจากไดโคฟีเนค โซเดียมในสูตรตำรับ นอกจากนั้นปริมาณของไดโคฟีเนค โซเดียมในแผ่นฟิล์มยังส่งผลต่อเวลาในการแตกตัวและความแข็งของฟิล์มอีกด้วย ภาพตัดขวางที่ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแสดงเห็นอนุภาคทรงกลมกระจายอยู่ในเยื้อฟิล์มซึ่งแสดงให้เห็นว่า เกิดสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างไดโคฟีเนค โซเดียมและมีเบต้าไซโคเด็กซ์ตรินในระหว่างกระบวนการเตรียมฟิล์มด้วยการขึ้นรูปโดยใช้ตัวทำละลาย นอกจากนั้นยังพบว่า การใช้ไซลิทอลเป็นสารเพิ่มความหวานในสูตรตำรับจะทำให้ได้ฟิล์มที่เปราะและใช้เวลาในการแตกตัวเร็วกว่าฟิล์มที่ใช้ซูโครสen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectยาต้านการอักเสบen_US
dc.subjectเภสัชภัณฑ์en_US
dc.subjectยา -- การรักษาการอักเสบen_US
dc.subjectแผ่นฟิล์ม (เภสัชภัณฑ์) -- ตำรับen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาและประเมินตำรับฟิล์มติดกระพุ้งแก้มชนิดละลายในช่องปากสำหรับยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช้สเตียรอยด์en_US
dc.title.alternativeDevelopment and evaluation of orodispersible mucoadhesive films for non-steroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs)en_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractOrodispersible films (ODFs) is an orally pharmaceutical dosage form that have rapidly disintegrate and instantly release the drug when placed on the tongue. This study was aimed to investigate physicomechanical properties of ODFs containing diclofenac sodium/ß-cyclodextrin (DS/ßCD) inclusion complexes prepared by solvent casting method. The influence of plasticizer, ßCD, artificial sweetener and DS was studied. Increasing of plasticizer concentration resulted in decrement of disintegration time, strength, and elasticity of films. When ßCD was incorporated, opaque films were observed. Presence of ßCD resulted in degrading of physicomechanical properties, except percentage of elongation representing the film’s elasticity. ßCD films containing DS (DS/ßCD films) were more brittle and transparent than blank ßCD films. Amount of incorporated DS influenced on disintegration time and strength of obtained films. Cross-section scanning electron microscope (SEM) photomicrographs showed spherical particles scattered on DS/ßCD films illustrating the occurrence of DS/ßCD inclusion complexes during casting process. The DS/ßCD inclusion complexes were confirmed in both solid and solution. Furthermore, DS/ßCD ODFs were prepared by incorporation of artificial sweeteners in DS/ßCD films. It was found that DS/ßCD ODFs containing xylitol were more brittle and their disintegration times were faster than those containing sucraloseen_US
Appears in Collections:Pha-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phennapha Saokham.pdf19.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.