Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1394
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เพชรไพลิน พิบูลนิธิเกษม, วราภรณ์ ศิริธรรมานุกุล | - |
dc.date.accessioned | 2023-01-26T02:40:53Z | - |
dc.date.available | 2023-01-26T02:40:53Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1394 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา 2) ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) ความพึงพอใจของรายวิชา และ 5) ปัญหา / อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการเรียนออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 - 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 425 คน ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาทฤษฎี ของคณะพยาบาลศาสตร์ ระหว่างปีการศึกษา 2562 - 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา 2) แบบบันทึกผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา 3) แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนของรายวิชาแบบออนไลน์ และ 5) แบบสอบถามปัญหา / อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการเรียนออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 21.24 ปี (S.D. = 1.54) เกือบครึ่งที่มีประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์ / มือถือต่ำกว่า 5 ปี (ร้อยละ 40.00) เกือบทั้งหมดมีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ / มือถือ โดยการอบรม / ฝึกฝนด้วยตนเอง (ร้อยละ 98.82) มากกว่าครึ่งมีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ / มือถือในระดับปานกลาง (ร้อยละ 51.53) และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมเฉลี่ยเท่ากับ 3.04 (S.D. = 0.43) ส่วนรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ที่เกิดการเรียนรู้ได้ดี คือ บรรยายสด (real time) กลุ่มใหญ่ (ร้อยละ 28.47) การมอบหมายงานออนไลน์ที่เกิดการเรียนรู้ได้ดีมากที่สุด คือ การทำแบบฝึกหัด (ร้อยละ 51.06) ส่วนแอปพลิเคชันในการเรียนออนไลน์ที่เกิดการเรียนรู้ได้ดีมากที่สุด คือ Google Classroom (ร้อยละ 30.59) โดยผลลัพธ์การเรียนรู้จากการประเมินตนเองของนักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x ̅= 3.26, S.D. = 0.79) โดยด้านที่สูงที่สุด คือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ส่วนผลลัพธ์การเรียนรู้โดยรวมของรายวิชาด้านที่สูงที่สุด คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกรายวิชาโดยรวมอยู่ในระดับดี (70 - 74 คะแนน) (ร้อยละ 27.76) มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 73.12 (S.D. = 6.82) ความพึงพอใจของรายวิชาโดยรวมอยูในระดับดี (x ̅= 3.55, S.D. = 0.90) โดยความพึงพอใจมากที่สุด คือ อาจารย์ผู้สอนโดยรวมมีความรู้และความเชี่ยวชาญในเนื้อหาที่สอน ความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ มีความรู้สึกเสมือนได้เรียนจริงภายในห้องเรียน ส่วนปัญหา / อุปสรรคในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่พบมากที่สุด คือ การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหลุดบ่อย สัญญาณอ่อน หรือไม่เสถียร ดังนั้น ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนออนไลน์ควรนำข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลพื้นฐานและหรือแนวทางในการออกแบบและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อให้นักศึกษามีผลลัพธ์การเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีความพึงพอใจที่ดีมากยิ่งขึ้นในการเรียนออนไลน์ต่อไป | en_US |
dc.description.sponsorship | ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย | en_US |
dc.subject | นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | การเรียนการสอน | en_US |
dc.subject | การสอนในมหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลของการเรียนออนไลน์ในนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | The effectiveness of online learning among nursing students, School of Nursing, Rangsit University | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | This descriptive research study aimed to examine the effectiveness of online learning including 1) students’ learning outcomes, 2) learning outcomes of the course, 3) learning achievement, 4) course satisfaction and 5) problems or obstacles of online learning. The samples were 425 sophomores to senior nursing students in bachelor’s degree of nursing science program who enrolled for the course in academic year 2019-2020 at Rangsit University. The research instruments were the report of course achievement, learning outcomes of the course, and 3 questionnaires including the learning outcomes of students, course satisfaction, and problems or obstacles of online learning. Descriptive statistics were applied to analyze the data and described in frequency, percentage, mean and standard deviation. The results showed that the sample were almost female in average 21.24 years old (S.D.= 1.54) with 40% of computer or mobile phone experience used less than 5 years, 98.82% by self-directed learning and CGPA = 3.04 (S.D. = 0.43). The best of online learning style was real time learning (28.47%) and the best of application for online learning was google classroom (30.59%). The average score of learning outcomes of students was moderate (x ̅ = 3.2, S.D. = 0.79), the interpersonal relationship and responsibility had the highest score in this domain. The highest average score was the learning outcomes of course, morality and ethics. The average score of all course’s learning achievement was good (70-74 scores), 27.76% (x ̅ = 73.12, S.D. = 6.82), 4). The course satisfaction of online learning showed a good score in average (x ̅ = 3.55, S.D. = 0.90). The expertise, and knowledgeable of instructors had the highest score, meanwhile a feeling of being in an actual classroom showed the lowest score in this domain. Regarding the problems or obstacles of online learning, the unstable and connection problem of internet signal was the main issue. The results of the current study may be beneficial for an educational institution, or educators to use for improving the pattern of online studying. We believe that the further improved online learning program based on these results may provide good learning outcomes, learning achievement, and satisfaction of the online learning. | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Petpailin Phibunnithikasem.pdf | 46.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.