Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1408
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวาลุกา พลายงาม-
dc.date.accessioned2023-01-26T06:24:51Z-
dc.date.available2023-01-26T06:24:51Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1408-
dc.description.abstractจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุทำให้โรคที่เกิดจากความชราโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโรคที่เกิดการการเสื่อมของเซลล์ประสาท เช่น โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's Disease) ซึ่งโปรตีนแอมีลอยด์ บีตาเป็นสาเหตุหลัก งานวิจัยนี้จึงทำการศึกษาฤทธิ์ปกป้องเซลล์ประสาท HT-22 ที่เหนี่ยวนำให้เกิดความเป็นพิษด้วย แอมีลอยด์ บีตา ของสารสกัดจากเหง้ากระชายดำ ในระดับการแสดงออกของโปรตีนโดยวิธีทางโปรติโอมิกส์ และทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ของสารสกัดเหง้ากระชายดำด้วย 95% เอทานอล และส่วนสกัดจากกระชายดำที่ได้จาก วิธีการสกัดของเหลวด้วยของเหลว ด้วยตัวทำละลาย เฮกเซน ไดคลอโรมีเทน เอทิลอะซิเตท และน้ำ พบว่าสารสกัดเหง้ากระชายดำด้วย 95% เอทานอล มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ABTS (IC50 เท่ากับ 33.74 μg/ml) ได้ดีกว่าอนุมูลอิสระ DPPH (IC50 เท่ากับ 288.43 μg/ml) ประมาณ 9 เท่า โดยใช้ Ascorbic Acid (IC50 เท่ากับ 5.65 μg/ml), BHT (IC50 เท่ากับ 6.87 μg/ml) และ α-tocopherol (IC50 เท่ากับ 12.88 μg/ml) เป็นสารมาตรฐาน จากการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ส่วนสกัดที่ได้ไป พบว่าส่วนสกัดเอทิลอะซิเตทมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ABTS และ DPPH ดีที่สุด มีค่า IC50 เท่ากับ 3.11 และ 19.6 μg/ml ตามลำดับ รองลงมาคือ ส่วนสกัดน้ำ ไดคลอโรมีเทน และเฮกเซน ตามลำดับ สอดคล้องกับปริมาณฟีนอลิกรวมที่พบในส่วนสกัดเอทิลอะซิเตทมากที่สุด เท่ากับ 585.55 mg GEA/g extract แต่พบว่าส่วนสกัดเฮกเซนมีปริมาณฟลาโวนอยด์รวมสูงที่สุด เท่ากับ 689.19 mg QE/g extract จากการวิเคราะห์โปรตีนโดยวิธี Label-free Nano-LC-MS/MS analysis พบว่า มีโปรตีนที่ตรวจพบจำนวน 97 โปรตีน โดยมีชนิด หน้าที่ และการแสดงออกที่แตกต่างกันในกลุ่มต่างๆ หลายชนิดและเมื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์โดยใช้ String Pathways Analysis ก็จะพบโปรตีนที่มีความสัมพันธ์กันและไม่มีความเกี่ยวข้องกัน ซึ่งควรมีการนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และนำเสนอผลงานวิจัยนี้ต่อไป รวมถึงในอนาคตควรการเลือกโปรตีนที่หน้าสนใจนำมาตรวจสอบการแสดงออกของโปรตีนโดยวิธี western blot analysis เพิ่มเติมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectกระชายดำ -- เภสัชฤทธิวิทยา -- วิจัยen_US
dc.subjectเซลล์ประสาท -- วิจัยen_US
dc.subjectฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระen_US
dc.titleรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การศึกษาฤทธิ์ปกป้องเซลล์ประสาท HT-22 ของส่วนที่แยกได้จากกระชายดำ ต่อการถูกเหนี่ยวนำให้เกิดพิษด้วยแอมีลอยด์ บีตา (Amyloid beta) : ศึกษาในโปรตีนโอมิกส์โปรไฟล์en_US
dc.title.alternativeNeuroprotective effect of Kaempferia parviflora fraction against amyloid beta induced cytotoxicity on HT-22 neuronal cell: Mechanistic insights proteomic profilesen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractIn aging societies, age-associated diseases especially neurodegenerative disorders are recognized to diminish people’s quality of life. Kaempferia parviflora have been shown to possess a wide spectrum of neuropharmacological activities and neuroprotective effects in vivo and in vitro. In this study, we determined neuroprotective effect of Kaempferia parviflora on HT-22 neuronal cell: Mechanistic insights proteomic profiles and antioxidant properties. From the results, it was found that the ethanolic extract was 9-fold more active against ABTS (IC50 33.74 μg/ml) than DPPH (IC50 288.43 μg/ml) using ascorbic acid (IC50 5.65 μg/ml), BHT (IC50 6.87 μg/ml) and α-tocopherol (IC50 12.88 μg/ml) as standard compounds. Upon the solvent partition of the ethanolic extract with hexane, dichloromethane, ethyl acetate and water, respectively, the corresponding fractions were obtained. After that, they were tested for the antioxidant activity, and the ethyl acetate fraction was found to have the best antioxidant activity against ABTS and DPPH with IC50 values of 3.11 and 19.6 μg/ml, respectively, followed by the water, dichloromethane and hexane fractions, respectively. This result was in agreement with the total phenolic contents of the four fractions, of which the content of ethyl acetate fraction gave the highest value of 585.55 mg GEA/g extract. However, the hexane fraction had the highest total flavonoid content of 689.19 mg QE/g extract. Finally, our proteomic data showed that 97 proteins express role in different types and functions. Candidates proteins were identified as functionally analyzed and pathway analysis via String and Unipot DB. We were proposed for further study as potential biomarkers and proof by western blot analysisen_US
Appears in Collections:Ort-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Waluka Plaignam.pdf34.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.