Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรพีพรรณ เพชรอนันต์กุล-
dc.date.accessioned2023-01-27T01:42:04Z-
dc.date.available2023-01-27T01:42:04Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1424-
dc.description.abstractรายงานการวิจัย เรื่องวิเคราะห์หนังสือบทกวีนิพนธ์ของสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิตที่ได้รับ รางวัลการประกวดในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ลักษณะฉันทลักษณ์ การใช้ภาพพจน์ และแนวคิดที่ปรากฏในหนังสือบทกวีนิพนธ์ โดยใช้ระเบียบวิธี วิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากหนังสือบทกวีนิพนธ์ของสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิตที่ได้รับ รางวัลการประกวดในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ จำนวน 12 เล่ม ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบฉันทลักษณ์ของหนังสือกวีนิพนธ์ทั้ง 12 เล่ม ใช้ฉันทลักษณ์ ประเภทกลอนในการประพันธ์ จำนวน 872 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 89.25 กาพย์ จำนวน 63 เรื่อง คิด เป็นร้อยละ 6.45 โคลง จำนวน 21 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 2.15 ฉันท์ จำนวน 14 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 1.43 และฉันทลักษณ์ผสม จำนวน 9 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 0.92 ด้านภาพพจน์ พบว่ามี 13 ประเภท ได้แก่ อุปมา อุปลักษณ์ สัญลักษณ์ บุคคลวัต สมมุติภาวะ สัทพจน์ อติพจน์ นามนัย สัมพจนัย อุปมา นิทรรศน์ การอ้างอิง ปฏิพจน์ และแนวเทียบ ด้านแนวคิด ที่เด่นชัดมาก คือ การเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ คุณธรรมตามหลักพุทธศาสนา และการดำเนินชีวิตen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทย่ลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectกวีนิพนธ์ -- วิจัยen_US
dc.subjectกวีนิพนธ์ไทย -- ประวัติและวิจารณ์en_US
dc.subjectกวีนิพนธ์ไทย -- รางวัลen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย วิเคราะห์หนังสือบทกวีนิพนธ์ของสานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิตที่ได้รับรางวัลการประกวดในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติen_US
dc.title.alternativeAn analysis of the poetry books of Rangsit University Press awarded at national book fairen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were 1) to study the forms of figure of the poetry, 2) to study the figure of speech usage and 3) to study the themes in the Poetry Books of Rangsit University Press awarded at National Book Fair. This qualitative research was used. The theory and concepts of the data were corrected from 12 Poetry Books of Rangsit University Press awarded at National Book Fair. The findings revealed that according to the form of 12 books, there were approximately 872 topics equivalent to 89.25% written in Klon, followed by approximately 63 topics equivalent to 6.45% written in Kaap, approximately 21 topics equivalent to 2.15% written in Klong, approximately 14 topics equivalent to 1.43% written in Chan, and approximately 9 topics equivalent to 0.92% written in mixed form, respectively. There were 13 figures of speech consisting of 1) simile 2) metaphor 3) symbol 4) personification 5) apostrophe 6) hyperbole 7) onomatopiea 8) metonymy 9) synecdoche 10) allegory 11) allusion 12) oxymoron and 13) analogy. The obviously outstanding themes were to honor the monarchy, the virtue of Buddhism, and the way of life.en_US
Appears in Collections:LiA-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rapeephan Petchanankul.pdf55.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.