Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1425
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รัชดา ลาภใหญ่ | - |
dc.date.accessioned | 2023-01-27T01:45:51Z | - |
dc.date.available | 2023-01-27T01:45:51Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1425 | - |
dc.description.abstract | รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษากระบวนการสื่อสารต่างวัฒนธรรมเพื่อแก้ไขและปรับปรุงการเรียนการสอนนักศึกษาจีนโครงการแลกเปลี่ยนภาควิชาภาษาไทยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มุ่งศึกษาให้ทราบปัญหาหลักและปัญหารองที่ก่อให้เกิดอุปสรรคในกระบวนการสื่อสารในชั้นเรียนและศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงทักษะการสื่อสารต่างวัฒนธรรมเพื่อพัฒนา การเรียนการสอนของภาควิชาภาษาไทยโดยใช้การเก็บข้อมูลที่หลากหลาย ได้แก่ แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศึกษาจีนโครงการแลกเปลี่ยน ภาควิชาภาษาไทย ที่เดินทางมาศึกษาวิชาเอกภาษาไทยในปีการศึกษา 1/2563 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาจีนโครงการแลกเปลี่ยนจาก Oxbride College, Kunming University of Science and Technology โดยให้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 28 คนจากนั้นคัดเลือกสัมภาษณ์เชิงลึก5 คน และคัดเลือกบุคคลผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informant)เพื่อสัมภาษณ์เชิงลึก 2คน ได้แก่ หัวหน้าภาคและรองหัวหน้าภาควิชาภาษาไทย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าทางสถิติโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS และใช้การแจกแจงค่าความถี่ ร้อยละ นำผลการสัมภาษณ์มาแยกประเด็น จัดหมวดหมู่และสรุปเนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ ปัญหาหลักที่ก่อให้เกิดอุปสรรคในกระบวนการสื่อสารต่างวัฒนธรรม คือ การขาดทักษะการใช้ภาษาและการสื่อสาร โดยเฉพาะการสื่อสารระดับสูงซึ่งต้องใช้ทักษะทางภาษาและประสบการณ์ร่วมด้วย สำหรับปัญหารองที่ก่อให้เกิดอุปสรรคในกระบวนการสื่อสารต่างวัฒนธรรม คือ พฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างที่ยังคงยึดติดกับวัฒนธรรมเดิมของตนเอง สำหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงทักษะการสื่อสารต่างวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนของภาควิชาภาษาไทยนั้นแบ่งได้ 2 ประเด็นโดยประมวลจากผลการวิจัย ดังนี้ แนวทางเพื่อแก้ไขและปรับปรุงการเรียนการสอนในเชิงนโยบาย ได้แก่ เพิ่มรายวิชาที่เป็นการสื่อสารระดับสูง ลดรายวิชาที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตประจำวัน ปรับแผนการสร้างแบบเรียน และแนวทางเพื่อแก้ไขและปรับปรุงการเรียนการสอนในเชิงปฏิบัติ ได้แก่ กระตุ้นให้ กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรม กระตุ้นให้กลุ่มตัวอย่างเห็นความสำคัญและเข้าห้องสมุดอย่างสม่าเสมอ รวมทั้งมอบหมายให้ทำกิจกรรมกับนักศึกษาไทยให้มากยิ่งขึ้น | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | การสื่อสารต่างวัฒนธรรม -- วิจัย | en_US |
dc.subject | นักศึกษาจีนในต่างประเทศ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การแลกเปลี่ยนทางการศึกษา | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การศึกษากระบวนการสื่อสารต่างวัฒนธรรมเพื่อแก้ไขและปรับปรุงการเรียนการสอนนักศึกษาจีนโครงการแลกเปลี่ยน ภาควิชาภาษาไทย | en_US |
dc.title.alternative | The study of intercultural communication process and problems among exchanged Chinese students, Thai Language Department, Rangsit University to improve in-class learning | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The Study “ The study of intercultural communication process and problems among exchanged Chinese students, Thai Language Department, Rangsit University to improve in-class learning ” is a qualitative study intended to investigate problems occurred in communication process in classroom, to find solutions to solve intercultural communication problems and to develop Thai study class. This study used questionnaire and in-depth interview to collect data. Data were collected from exchanged Chinese students in Thai Department in academic year 1/2020 Students are from Oxbride College, Kunming University of Science and Technology. Questionnaire were used with 28 students and 5 students were selected for in-depth interview. This study also interviewed 2 key informants from Thai Department. Data from questionnaire were analyzed using SPSS, percentage and data frequency, data from interviews were transcribed and categorized. The finding from the study showed that problems occurred from lacking of language experience and communication, especially higher skill of communication. Another problem occurred from student’s behavior rooted from their former culture. Ways to solve problems and improve intercultural communication skills in Thai department's classes are; 1) research results showed that classroom and teaching policy must be developed. Subjects which enhance higher communication skill must be introduced and lessen subjects which are not useful in real life situation. 2) develop and improve more practical subjects. Urge students to participate in activities .Use library more often and do more activities with Thai students. | en_US |
Appears in Collections: | LiA-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rachada Lapyai.pdf | 44.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.