Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิดชไม วิสุตกุล-
dc.contributor.authorอรรถสิทธิ์ บัวพันธ์-
dc.date.accessioned2023-02-01T02:45:01Z-
dc.date.available2023-02-01T02:45:01Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1442-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดเป็นภาพ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดเป็นภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนรัฐบาลแห่งหนึ่ง ในจังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 1 ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน 20 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย จำนวน 4 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้เรื่องกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง มีลักษณะเป็นข้อสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดเป็นภาพ จำนวน 10 ข้อ มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ Kolmogorov-Smirnov Test และค่าสถิติ t-test แบบ Dependent กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีผลการเรียนรู้เรื่องกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โดยใช้เทคนิคการคิดเป็นภาพ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดเป็นภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด ( x̅ = 4.57, S.D. = 0.09)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวรรณคดีไทย -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectแบบการคิด -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)en_US
dc.subjectการคิดเป็นภาพen_US
dc.titleการใช้เทคนิคการคิดเป็นภาพเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ เรื่องกาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeThe use of visual thinking technique to develop learning achievement of Khub Ho Khlong Phrapart Tarn Thongdang of grade 8 studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were 1) to compare the learning achievement in Khub Ho Khlong Phrapart Tarn Thongdang of grade 8 students before and after learning by using visual thinking techniques and 2) to examine the satisfaction of grade 8 students towards the learning management using visual thinking techniques. A cluster random sampling was used in the study. A sample in the study consisted of 20 grade 8 students of 1 classroom currently attending the second semester of academic year 2020 at a public school in Samut Sakhon province. The research instruments were composed of 1) four lesson plans of Thai language subject, 2) 30-item test for learning achievement measurement on Khub Ho Khlong Phrapart Tarn Thongdang, and 3) a 5-point scale questionnaire with 10 questions on student satisfaction towards the lesson plans using visual thinking techniques. The statistics used for data analysis included mean, standard deviation, the Kolmogorov–Smirnov test, and the dependent sample t-test. The results revealed that 1) the post-test scores in learning achievement in Khub Ho Khlong Phrapart Tarn Thongdang after the learning by using visual thinking techniques were higher at a statistical significance level of 0.05, and 2) students’ satisfaction towards the learning management with visual thinking techniques at a highest level ( ̅ = 4.57, S.D. = 0.09).en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
Appears in Collections:EDU-CI-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ATTHASIT BUAPAN.pdf8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.