Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1444
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชิดชไม วิสุตกุล | - |
dc.contributor.author | กาญจนา วงค์ษา | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-01T02:58:59Z | - |
dc.date.available | 2023-02-01T02:58:59Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1444 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกำกับอารมณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้ได้ตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบการกำกับอารมณ์ของกลุ่มทดลองก่อนและหลังการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกำกับอารมณ์ 3) เปรียบเทียบพัฒนาการการกากับอารมณ์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกากับอารมณ์และกลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ 4) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ฯ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่กาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 2 ห้องเรียน มีจานวน 62 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกากับอารมณ์ 2) แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกากับอารมณ์ จานวน 6 แผน 3) แบบวัดการกากับอารมณ์ 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการกำกับอารมณ์ 5) แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test for Independent Samples ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกากับอารมณ์มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ 81.23/83.70 2) นักเรียนในกลุ่มทดลองมีการกำกับอารมณ์หลังการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกำกับอารมณ์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักเรียนในกลุ่มทดลองที่เรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกำกับอารมณ์มีพัฒนาการการกำกับอารมณ์สูงกว่านักเรียนในกลุ่มควบคุมที่เรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นในภาพรวมว่าชอบและสนุกกับการทากิจกรรม เพราะกิจกรรมมีความหลากหลาย ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สื่อ -- ชุดกิจกรรม | en_US |
dc.subject | การควบคุมตนเองในวัยรุ่น | en_US |
dc.subject | อารมณ์กับการรู้คิด | en_US |
dc.title | การใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการกำกับอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 | en_US |
dc.title.alternative | Application of a guidance activity set for the development of the emotion regulation of grade 8 students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed to 1) develop and discover the efficiency of a guidance activity set for the development of the emotion regulation of grade 8 students as required by the 80/80 criteria, 2) compare the emotion regulation of the experimental group before and after treated with the guidance activity set, 3) compare the results of the emotion regulation of the experimental group treated with the guidance activity set with the control group treated with normal guidance activities, and 4) explore students’ opinions towards the guidance activity set. The subjects were 64 grade 8 students from two classrooms selected through cluster random sampling. The instruments included 1) a guidance activity set for the development of the emotion regulation, 2) six learning management plans, 3) an emotion regulation assessment, 4) behavioral observations on emotional regulation, and 5) interviews. Data were analyzed using mean, standard deviation, and the independent sample t-test. The results revealed that 1) the guidance activity set met the required criteria (81.23/83.70). 2) The experimental group improved their emotion regulation with a statistical significance of .01, and 3) the experimental group had higher development of the emotion regulation than the control group with a statistical significance of .05 4) The result of students’ opinions revealed that they liked and enjoyed doing a variety of guidance activities and had a chance to share their ideas with classmates. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KANCHANA WONGSA.pdf | 5.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.