Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมาลี สว่าง-
dc.contributor.authorวาธิยา จุนเนียง-
dc.date.accessioned2023-02-02T02:16:13Z-
dc.date.available2023-02-02T02:16:13Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1461-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาถึงความแตกต่างของปัจจัยลักษณะประชากรศาสตร์ที่มีต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ สถานที่พักตากอากาศจังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงโควิด 19 (2) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานที่พักตากอากาศจังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงโควิด 19 (3) เพื่อศึกษาปัจจัยกลุ่มอ้างอิง ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานที่พักตากอากาศจังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงโควิด 19 มีประชากรเป้าหมายเป็นผู้ใช้บริการชาวไทยที่เคยใช้และสนใจใช้บริการสถานที่พักตากอากาศในจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งไม่ทราบจานวนของประชากรทั้งหมดที่แน่นอน โดยเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน ทาการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน ด้วย สถิติ t-test (Independent Sample Test) F-test (One-Way Analysis of Variance) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21 - 30 ปี สถานภาพโสด มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/ลูกจ้าง และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,000 – 30,000 บาท โดยปัจจัยลักษณะประชากรศาสตร์ พบว่า เพศที่แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานที่พักตากอากาศจังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงโควิด 19 ที่แตกต่างกัน ด้านปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดบริการ ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการที่พักตากอากาศจังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงโควิด 19 คือ ด้านผลิตภัณฑ์ (β = 0.268) และด้านลักษณะทางกายภาพและการนาเสนอ (β = 0.145) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านปัจจัยกลุ่มอ้างอิง ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการที่พักตากอากาศจังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงโควิด 19 คือ ด้านสมาชิกในครอบครัว (β = 0.287) ด้านกลุ่มเพื่อน (β = 0.202) และน้อยที่สุดคือ ด้านกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ต (β = 0.183) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิต. สำนักหอสมุดen_US
dc.subjectส่วนประสมทางการตลาดen_US
dc.subjectการท่องเที่ยว -- การตัดสินใจen_US
dc.subjectสถานตากอากาศ -- กาญจนบุรี -- ความพอใจของผู้ใช้บริการen_US
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภค -- กาญจนบุรีen_US
dc.titleปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการและกลุ่มอ้างอิงที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานที่พักตากอากาศจังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงโควิด 19en_US
dc.title.alternativeService marketing mix factors and reference groups affecting consumers’ decision on visiting resorts in Kanchanaburi Province during COVID-19 perioden_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were (1) To study the differences of demographic factors affecting consumers’ decision on visiting resorts in Kanchanaburi Province during Covid-19 period, (2) To study service marketing mix factors affecting consumers’ decision on visiting resorts in Kanchanaburi Province during Covid-19 period, and (3) To study reference group factors affecting consumers’ decision on visiting resorts in Kanchanaburi Province during Covid-19 period. The population of this research was Thai people who used to visit or were interested in visiting resorts in Kanchanaburi which was unknown about the exact number. A questionnaire was used as a research tool for data collection with 400 samples using the convenience sampling technique. Statistical analysis consisted of descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation. Inferential statistics included t-Test, One-Way ANOVA (F-Test), and multiple regression analysis. The results revealed that most of the respondents were female and single status with bachelor’s degree level, working as private company and average monthly income for 20,000 - 30,000 baht. The marketing mix factors including product affected consumers’ decision on visiting resorts in Kanchanaburi during Covid-19 period (β = 0.268), followed by physical appearance and presentation (β = 0.145) with the level of statistical significance at 0.05. The reference groups factors affecting the consumers’ decision on visiting resorts in Kanchanaburi during Covid-19 period decision were family (β = 0.287), followed by friends (β = 0.202), and internet user groups (β = 0.183) with the level of statistical significance at 0.05.en_US
dc.description.degree-nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineบริหารธุรกิจen_US
Appears in Collections:BA-BA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WATIYA JUNNIANG.pdf6.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.