Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPaijit Ingsiriwat-
dc.contributor.authorVorakorn Kanokpipat-
dc.date.accessioned2023-02-02T08:09:52Z-
dc.date.available2023-02-02T08:09:52Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1498-
dc.descriptionThesis (M.F.A. (Design)) -- Rangsit University, 2021en_US
dc.description.abstractThe majority of people are now living in urban areas and this proportion will increase every year. We live in and are surrounded by the modern city, the man-made environment, and especially the workspace where we spent most of our time and a lot of time, we get stressed from work. Currently, the COVID-19 pandemic has brought the unprecedented way of work, social-distancing, and work from home. We are forced to work remotely, and though we can connect each other through devices, we still get stressed. One of the important reasons is that we are disconnected from nature, our healer. Actually, we are biologically and innately connected to nature, which is our natural habitat. This problem has triggered the author to seek a nature-based design that can help improve people’s well-being in the workspace environment. The author has studied a sustainable framework as a criterion and sorted the most related principle to use as the methodology. The results were the prototype design concept that aimed to offer a better mental and physical health to the new generation in the work context and leave some room in the design to urge their creativity and flexibility which are crucial in the future of work.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherRangsit University Libraryen_US
dc.subjectWorkplace -- Psychologyen_US
dc.subjectNew products -- Materialsen_US
dc.subjectSustainable buildingsen_US
dc.titleA study of nature-based design to promote well-being in the workplaceen_US
dc.title.alternativeการค้นคว้าปัจจัยการออกแบบจากวัสดุธรรมชาติเพื่อสร้างเสริมสุขลักษณะความเป็นอยู่ที:ดีในสภาพแวดล้อมของพื้นที่ทำงานen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractในปัจจุบันนี้ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและสัดส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นทุกปี เราอยู่ อาศัยในสภาพแวดล้อมสมัยใหม่ที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พื้นที่ทำงานที่เราใช้เวลาส่วน ใหญ่ไปในพื้นที่นี้ทำให้เราห่างจากธรรมชาติซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมนุษย์ ทำให้เราเกิดความเครียด และประกอบกับการระบาดที่รุนแรงของ COVID-19 ได้เกิดวิธีการทำงานแบบใหม่ การเว้น ระยะห่าง และการทำงานจากที่บ้านอย่างที่ไม่เคยปฏิบัติมาก่อน เราถูกบังคับให้ทำงานจากระยะไกล งดเว้นการเดินทาง ทำให้เราห่างจากธรรมชาติมากยิ่งขึ้น ระดับความเครียดจึงเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะพื้นที่ทำงานในเขตเมือง ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เหตุผลหลักที่สำคัญคือเราถูกตัดขาด จากธรรมชาติ ที่สามารถช่วยลดความเครียดได้เป็นอย่างดี ทำไมนะหรือ? เพราะเรามีความสัมพันธ์ ทางชีวภาพโดยกำเนิดกับธรรมชาติ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อความเป็นอยู่ที่ดีของเรา ด้วยปัญหานี้ ทำ้ให้ผูวิจัยต้องการค้นคว้าเพื่อหาปัจจัยการออกแบบที่ได้จากธรรมชาติที่สามารถช่วยสร้างเสริม สุขลักษณะความเป็นอยู่ที่ดีในสภาพแวดล้อมของพื้นที่ทำงาน โดยการศึกษากรอบการทำงานที่ ยั่งยืนเป็นเกณฑ์พื้นฐานและจัดเรียงหลักการสำคัญที่เกี่ยวข้องมากที่สุดเพื่อใช้เป็นแนวความคิดและ วิธีการในการออกแบบต่อไป ผลลัพธ์คือการออกแบบและจัดทำต้นแบบที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมสุขลักษณะความ เป็นอยู่ที่ดีในสภาพแวดล้อมของพื้นที่ทำงานเพื่อให้ผู้ใช้งานได้มีสุขภาพจิตและร่างกายที่แข็งแรง รวมไปถึงการทิ้งคำถามในการออกแบบเพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์และความยืดหยุ่นสำหรับ คนรุ่นใหม่ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของการทำงานในอนาคตen_US
dc.description.degree-nameMaster of Fine Artsen_US
dc.description.degree-levelMaster's Degreeen_US
dc.contributor.degree-disciplineDesignen_US
Appears in Collections:Art-AD-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
VORAKORN KANOKPIPAT.pdf25.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.