Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหทัยรัตน์ อุไรรงค์-
dc.contributor.authorชูชีวิน กาญจนถาวรวิบูล-
dc.date.accessioned2023-02-27T02:54:50Z-
dc.date.available2023-02-27T02:54:50Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1515-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสกัดสารจากขมิ้นชันอินทรีย์โดยใช้คลื่นไมโครเวฟ เพื่อให้ได้ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์สูงที่สุด ออกแบบการทดลองแบบบ็อกซ์เบนเก้นเพื่อควบคุมปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ ปริมาณผงขมิ้นชัน ระยะเวลา และจานวนรอบ รวมถึงติดตามการตอบสนอง 5 ประการ ได้แก่ ผลผลิต ปริมาณบิสดีเมทอกซีเคอร์คูมิน ปริมาณดีเมทอกซีเคอร์คูมิน ปริมาณเคอร์คูมิน และปริมาณเคอร์คูมินอยด์รวม ในขั้นต้นใช้น้ามันมะพร้าวเป็นตัวทาละลาย ผลการศึกษาพบว่า ผลผลิตจะสูงเมื่อใช้ปริมาณผงขมิ้นชันต่า ระยะเวลาการสกัดนาน และจำนวนรอบสูง ในขณะที่ปริมาณบิสดีเมทอกซีเคอร์คูมิน ดีเมทอกซีเคอร์คูมิน เคอร์คูมิน และเคอร์คูมินอยด์รวมจะสูง เมื่อใช้ปริมาณผงขมิ้นชันสูง ระยะเวลาการสกัดนาน และจานวนรอบสูง สภาวะที่เหมาะสมที่ทาให้ปริมาณเคอร์คูมินอยด์รวมสูงที่สุด คือ ปริมาณผงขมิ้นชัน 6 กรัมต่อน้ำมันมะพร้าว 20 กรัม ระยะเวลา 1.5 นาที และสกัด 3 รอบ จากนั้นจึงใช้สภาวะนี้เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการสกัดเคอร์คูมินอยด์ของน้ำมันชนิดอื่นอีก 10 ตัวอย่าง โดยพบว่าน้ำมันละหุ่งสามารถสกัดเคอร์คูมินอยด์ได้สูงที่สุด ซึ่งใกล้เคียงกับน้ำมันมะพร้าว ข้อมูลความคงตัวบ่งชี้ว่า การใช้น้ำมันละหุ่งเป็นตัวทาละลาย ช่วยให้เคอร์คูมินอยด์คงตัวที่สุด เมื่อเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 30 และ 40 องศาเซลเซียส นาน 3 เดือน ดังนั้น การศึกษานี้จึงประสบความสำเร็จในการหาค่าที่เหมาะสมของการสกัดขมิ้นชันอินทรีย์ด้วยไมโครเวฟ และผลที่ได้สามารถใช้เป็นแนวทางในการเลือกชนิดของน้ำมันเป็นตัวทำละลายเพื่อเตรียมสารเคอร์คูมินอยด์ในน้ำมันพร้อมใช้ สำหรับใช้เป็นส่วนผสมของตารับเครื่องสำอางen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectขมิ้นชัน -- การสังเคราะห์ -- วิจัยen_US
dc.subjectเคอร์คูมินอยด์en_US
dc.subjectเครื่องสำอาง -- การผลิตen_US
dc.titleผลของการสกัดสารเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้นชันอินทรีย์ด้วยไมโครเวฟในตัวทำละลายน้ำมันต่างชนิดเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางen_US
dc.title.alternativeEffect of microwave-assisted extraction of curcuminoids from organic curcuma Longa L. in different oils for cosmetic applicationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aims to investigate the extraction of organic Curcuma longa using microwave-assisted extraction to maximize curcuminoid content. The Box-Behnken design was applied to control three factors including solid amount, duration time, and the number of irradiation cycles, while five responses as production yield, bisdemethoxycurcumin (BDMC) content, demethoxycurcumin (DMC) content, curcumin (CUR) content, and total curcuminoid content were monitored. Coconut oil was used as an extraction solvent. Results showed that production yield was high for low solid amount, long duration time, and the high number of irradiation cycles, while high BDMC, DMC, CUR, and total curcuminoid contents were obtained at high solid amount, long duration time, and the high number of irradiation cycles. The optimum condition giving the maximum total curcuminoid content was a solid amount of 6 g per 20 g of coconut oil, duration time 1.5 minutes, and 3 irradiation cycles. The optimum condition for curcuminoid extraction was investigated using ten different oil samples. Castor oil extracted the highest individual and total curcuminoid contents, comparable to coconut oil. Stability data indicated that castor oil gave the most stable curcuminoids when stored at 30°C and 40°C for three months. Optimization of microwave-assisted extraction of organic C. longa was successfully achieved. Results can be used as a guide for the selection of oil types to prepare ready-to-use curcuminoid-oil mixtures as ingredients in cosmetic formulationsen_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineเทคโนโลยีชีวภาพen_US
Appears in Collections:BiT-Bio-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
XHUXHIWIN KANCHANATHAWORNVIBOON.pdf5.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.