Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธรรมศักดิ์ รุจิระยรรยง-
dc.contributor.authorภิรมย์ญา ถิ่นนุช-
dc.date.accessioned2023-02-27T03:02:11Z-
dc.date.available2023-02-27T03:02:11Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1516-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมโยโธา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractบทความนี้นาเสนอการจำลองสถานการณ์การก่อสร้างเสาเข็มเจาะระบบเปียก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรูปแบบการจัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสมและวิเคราะห์หาค่าอัตราผลผลิต การประยุกต์แบบจำลองเพื่อวางแผนโครงการก่อสร้างที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน โดยใช้โครงการก่อสร้างโครงการอาคารศูนย์บริหารการทางพิเศษแห่งประเทศ จังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็นกรณีศึกษา และใช้โครงการ ธนาคาร ยูโอบี จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ เป็นกรณีศึกษา การประยุกต์แบบจำลอง โดยเริ่มจากการศึกษาขั้นตอนการก่อสร้าง ซึ่งสามารถแบ่งกิจกรรมออกได้เป็น 5 กิจกรรม หลังจากนั้นทาการเก็บข้อมูลเวลาที่ใช้ในการทำงานของแต่ละกิจกรรม จากนั้นมาจำลองสถานการณ์ด้วยวิธี ABC (Activity-Based Construction) โดยใช้ข้อมูลเวลาที่เก็บมาเป็นระยะเวลาของกิจกรรมพร้อมทั้งปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสมเพื่อหา ค่าอัตราผลผลิตโดยคานึงถึงทั้งด้านต้นทุนและเวลา จากการจำลองสถานการณ์ก่อสร้างเสาเข็ม เจาะระบบเปียกพบว่าการจัดสรรทรัพยากรที่ส่งผลให้ได้ระยะเวลาและต้นทุนที่เหมาะสมของ การก่อสร้าง คือใช้ Drilling Rig 4 เครื่อง Service Crawler crane 3 เครื่อง คนงาน 1 ทีม ซึ่งใช้เวลาในการทำงาน 74.83 วัน โดยมีต้นทุนทั้งหมด 13,544,230 บาท และการประยุกต์แบบจำลองระยะเวลา 1 วงรอบเท่ากับ 687 นาที ซึ่งใกล้เคียงกับข้อมูลจากภาคสนามที่ระยะเวลา 625 นาที การศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้ในการวางแผนได้บนเงื่อนไขเดียวกันหรือใกล้เคียงกันen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectเสาเข็ม -- การทดสอบ -- การก่อสร้างen_US
dc.subjectการก่อสร้าง -- การควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectสถานการณ์จำลองen_US
dc.titleการจำลองสถานการณ์การก่อสร้างเสาเข็มเจาะระบบเปียกen_US
dc.title.alternativeConstruction process simulation of wet bored pileen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis paper presents a construction process simulation of a wet bored pile. The objective of the study was to find a set of resource allocation that contributed to optimum duration and cost, together with an application to plan similar construction projects by using the construction project of The Expressway Administration Center Building Project in Bangkok and by using the construction project of The United Overseas Bank (Thai) Public Company Limited head office employed as a case study of applying a model. For the early start of the project, the working process could be divided into five activities. The data collection was later implemented. The process simulation was using ABC (Activity-Based Construction) method by using the collected data, along with the modification of a set of resource allocation that led to optimum duration and cost. The results revealed that the appropriate resource allocation that resulted in optimum duration and cost was a set of four drilling rigs, three service crawler cranes, and one working team. This took 74.83 days with a cost of 13,544,230 baht. The application of simulation for one circle was equal to 687 minutes which were approximately close to the field data for 625 minutes. This study can be used for planning when applying the similar conditionsen_US
dc.description.degree-nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
Appears in Collections:Eng-CE-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PHIROMYA THINNUT.pdf3.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.