Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1524
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วศิณ ชูประยูร | - |
dc.contributor.author | ชาญชัย ประมูลเฉโก | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-27T04:58:58Z | - |
dc.date.available | 2023-02-27T04:58:58Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1524 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของกาลังพลกรมการสื่อสารทหาร เกี่ยวกับกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) พัฒนาร่างแผนปฏิบัติการกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมการสื่อสารทหาร และ 3) พิจารณา (ร่าง) แผนปฏิบัติการกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมการสื่อสารทหาร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ใช้กรอบมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 เป็นทฤษฎีหลักในการออกแบบการวิจัย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกำลังพลทั่วไป จำนวน 321 คน ได้แบบสอบถามกลับคืนครบ (ร้อยละ 100.00) และใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากฝ่ายบริหาร และฝ่ายอำนวยการของกรมการสื่อสารทหาร จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา (ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และ 2) การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ ส่วนกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นาข้อมูลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อ จำแนกความคิดเห็นต่างและความคิดเห็นเหมือนในแต่ละประเด็น ผลการวิจัย พบว่า กำลังพลส่วนใหญ่มีความต้องการมาตรการจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศในระดับมาก เช่นเดียวกันกับผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศมีอิทธิพลต่อ มาตรการจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ที่ขนาดอิทธิพล (R2) อยู่ระหว่าง .491 - .933 และมาตรการจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศในบริบทปัจจุบัน มีอิทธิพลต่อความต้องการแผนความเสี่ยงเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ขนาดอิทธิพล (R2) อยู่ระหว่าง .195 - .933 ทำให้ได้สมการอิทธิพล จำนวน 28 สมการ ผลจากการทดสอบสมมติฐานดังกล่าว คือ สารสนเทศที่เป็นฐานในการพัฒนาเป็น (ร่าง) แผนปฏิบัติการกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมการสื่อสารทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย และผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิของกรมการสื่อสารทหาร จำนวน 11 คน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีสารสนเทศ -- การจัดการ | en_US |
dc.subject | การบริหารความเสี่ยง | en_US |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | en_US |
dc.subject | ระบบข้อสนเทศเพื่อการจัดการ | en_US |
dc.title | การพัฒนาแผนปฏิบัติการกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมการสื่อสารทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย | en_US |
dc.title.alternative | A development of operational plan on information technology risk management, directorate of joint communication, Royal Thai Armed Force Headquarter | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research were 1) to study the opinions of the general forces of the Directorate of Joint Communications on the management processes of information technology risks, 2) to develop a draft action plan for the processes, and 3) to consider the draft of the “The Action Plan for managing Information Technology Risks” of the Directorate of Joint Communications. This research combines the quantitative and qualitative research approaches. The leading theory in research design is the ISO/IEC 27001:2013 standard framework. Three hundred and twenty-one general forces who are the research respondents completed and returned the questionnaires (100.00%). In terms of the qualitative approach, the semi-structured interviewing led to gather information from the five administrators, including the director of the Directorate of Joint Communications. The statistics used in the empirical data analysis are 1) descriptive (percentage, mean, and standard deviation) and 2) multiple linear regression analysis. The authors comparatively analyzed the interviewers' qualitative data to classify different opinions and opinions on each issue. The study revealed that most of the respondents need information security managerial measures. The hypothesis test found that the management system of information security has influenced information security efforts (R2 are .491-.933); current management measures of information security have affected the need for information technology risk plans (R2 are.195-.933). The hypothesis test also generated the 28 influence equations. The research findings become the primary information for developing the draft of the Information Technology Risk Management Action Plan of the Directorate of Joint Communications, Royal Thai Armed Forces Headquarters. The 11 members approved the draft of the distinguished panel of the Directorate of Joint Communications | en_US |
dc.description.degree-name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
Appears in Collections: | ICT-ITM-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
CAPTAIN. CHANCHAI PRAMOOLCHEGO.pdf | 10.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.