Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1526
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วศิณ ชูประยูร | - |
dc.contributor.author | กรภัทร์ สวนอุดม | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-27T05:05:13Z | - |
dc.date.available | 2023-02-27T05:05:13Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1526 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศดิจิทัล และการรับรู้ของเจ้าพนักงานฝ่ายความมั่นคง เกี่ยวกับการสงครามสารสนเทศดิจิทัล 2) ศึกษาเจตคติของเจ้าพนักงานฝ่ายความมั่นคง ต่อการสงครามสารสนเทศดิจิทัล ความพร้อมรับมือการสงครามสารสนเทศในสภาวะปัจจุบัน และแนวทางการเตรียมความพร้อมรับมือ 3) นำเสนอแนวทางการป้องกันสงครามสารสนเทศ แนวทางการโต้ตอบ และ 4) พัฒนาแบบจำลองความสัมพันธ์ของเจตคติเกี่ยวกับการสงครามสารสนเทศและการเตรียมความพร้อม กับแนวทางการป้องกันและการโต้ตอบ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณใช้กรอบทฤษฎี Warden’s Five Ring System เป็นทฤษฎีหลักในการออกแบบการวิจัย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคง จำนวน 341 คน กลุ่มตัวอย่างตอบและแบบสอบถามกลับคืนมาครบ (ร้อยละ 100.00) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ สถิติคำนวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวทางการป้องกันสงครามสารสนเทศที่เหมาะสมมากที่สุด คือ การให้ความสำคัญของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (R2=.754) และการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านภัยคุกคามทางสารสนเทศของเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง (R2=.863) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวทางการโต้ตอบที่เหมาะสมมากที่สุด คือ การบิดเบือนข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันหลัก (R2=.726) และการจัดตั้งหน่วยงานกลางด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางสารสนเทศ (R2=.790) จากการทดสอบสมมติฐานดังกล่าวทำให้ได้สมการความสัมพันธ์ของเจตคติเกี่ยวกับการสงครามสารสนเทศ และการเตรียมความพร้อม กับแนวทางการป้องกันและการโต้ตอบ จำนวนรวมทั้งสิ้น 12 สมการ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สารสนเทศดิจิทัล -- การจัดการ | en_US |
dc.subject | สารสนเทศ -- มาตรการความปลอดภัย | en_US |
dc.subject | ความมั่นคงของชาติ | en_US |
dc.title | การศึกษาเจตคติของเจ้าพนักงานฝ่ายความมั่นคง ต่อการสงครามสารสนเทศดิจิทัล แนวทางป้องกัน และโต้ตอบ | en_US |
dc.title.alternative | A study of the Thai security officers toward digital information warfare and its protective and counter measures | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this thesis are to (1) study the behaviour of digital information technology and perceptions of security officials on digital information warfare, (2) study the attitudes of security officials to the digital information warfare, readiness for the current information warfare situations, and guidelines on responding preparation, (3) propose guidelines on preventing information warfare, including countermeasures, and (4) develop influential models (equations) of information warfare attitudes and preparation toward the prevention and countermeasures. The study is quantitative research. The leading theory of the research design is the Warden's Five Ring System. The questionnaires are research tools used to gather data from the 341 respondents who are the security officers. All respondents completed and returned the questionnaires (100 %). The statistics used in the data analysis are 1) descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation) and 2) multiple linear regression analysis. The hypothesis testing resulted in the highly influential factors to preventing information warfare: the importance of developing information technology infrastructure (R2=.754) and analysis of the information threat situation of security personnel (R2=.863). The high influencing factors to the appropriate interaction approach are disinformation about the primary institution (R2=.726) and establishing a central agency for information security (R2=.790). The hypothesis test also generated 12 equations (models) of information warfare attitudes and preparation influence toward the prevention and countermeasures. | en_US |
dc.description.degree-name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
Appears in Collections: | ICT-ITM-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KORAPAT SUAN-UDOM.pdf | 5.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.