Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศ สุจารีกุล-
dc.contributor.authorวีรยุทธ ตาฮา-
dc.date.accessioned2023-02-27T06:20:31Z-
dc.date.available2023-02-27T06:20:31Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1538-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (1948) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (1966) และกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (2560) ล้วนกำหนดว่าบุคคลย่อมมีความเสมอภาคกันตามกฎหมายและกระบวนการทางกฎหมายหนึ่งในความเท่าเทียมกันปรากฎในการสอบสวน การไต่สวนมูลฟ้อง และพิจารณาในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 13 บังคับให้ใช้ภาษาไทยในกรณีที่มีความจำเป็นต้องแปลภาษาไทยท้องถิ่นหรือภาษาถิ่นหรือภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทยหรือในกรณีที่ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา หรือ พยานไม่สามารถพูดหรือเข้าใจภาษาไทย และไม่มีล่ามให้พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาล จัดหาล่ามให้แล้วแต่กรณี อย่างไรก็ดีกฎหมายไทยดังกล่าว ไม่ได้กำหนดวิธีการจัดหาล่ามและคุณสมบัติของล่ามไว้ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาล ด้วยเหตุนั้นจึงจัดหาล่ามโดยใช้ดุลยพินิจของตนเองสิ่งนี้จึงก่อให้เกิดความแตกต่างกันและความไม่เท่าเทียมกัน วิทยานิพนธ์นี้เสนอว่าประเทศไทยควรปรับปรุงกระบวนการจัดหาล่ามซึ่งปัจจุบันมีหลากหลาย โดยการจัดทาให้มันเป็นกระบวนการเดียวซึ่งครอบคลุมการจัดหาล่ามในทุกกระดับ ไม่ว่าจะเป็นพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ และศาล โดยมีวิธีการจัดหาล่ามอย่างชัดเจน และกำหนดคุณสมบัติของล่ามอย่างชัดเจน ประเทศไทยอาจใช้กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และออสเตรเลีย มาเป็นแนวทางในการปรับปรุงen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectนักแปลen_US
dc.subjectพนักงานสอบสวนen_US
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมen_US
dc.subjectพนักงานอัยการen_US
dc.titleกฎหมายเกี่ยวกับการจัดหาล่ามในชั้นสอบสวนen_US
dc.title.alternativeLaws regarding procuring interpreters at the inquiry levelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe Universal Declaration of Human Rights (1948), the International Covenant on Civil and Political Rights (1966), and the Constitution of the Kingdom of Thailand (2560), all provide that people are equal before the laws and legal procedures. One of such equality appears in the investigations, hearings, and deliberation in criminal justice procedures which the Code of Criminal Procedures of the Kingdom of Thailand Article 13 requires using Thai Language. In case it is necessary to translate locally Thai colloquial languages or jargons or foreign languages into Thai Language; or in case victims, accused persons, or witnesses, cannot speak or understand Thai Language and they have no interpreters; investigators, public prosecutors, or courts shall respectively procure interpreters for them, as the case may be. However, the said Thai laws do not provide for any process of procuring interpreters and qualifications of interpreters. Investigators, public prosecutors, or courts thereby use their own respective discretions to procure interpreters. This thereby produces differences and inequality. This Thesis posits that Thai should improve the existing processes for procuring interpreters which are presently diverse by making a single procedure which cover procuring interpreters at all levels, whether it be investigators, public prosecutors, or courts; by making clear methods of procuring interpreters; and by making clear prescription of qualification of interpreter. Thailand may use the laws of the United States of America, England, and Australia as guidelines for improvementen_US
dc.description.degree-nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิติศาสตร์en_US
Appears in Collections:Law-Law-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
POLICE LIEUTENANT COLONEL WEERAYOOT TAHA.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.