Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธานี วรภัทร์-
dc.contributor.authorศริณัฐชา ศศิพัฒนกุล-
dc.date.accessioned2023-02-27T06:36:15Z-
dc.date.available2023-02-27T06:36:15Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1543-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหา เปรียบเทียบ และแนวทางในการปัญหา การจ่ายสิทธิประโยชน์แก่ผู้มีสิทธิรับประโยชน์จากประกันสังคม กรณีศึกษา มาตรา 77 เมื่อ ผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย ปัญหาการจ่ายสิทธิประโยชน์กรณีเสียชีวิต และกรณีชราภาพเมื่อ ผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 กา หนดผู้มีสิทธิรับประโยชน์กรณีดังกล่าว ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์หรือวัตถุประสงค์ที่ แท้จริงของการประกันสังคม อีกทั้งยังไม่ทันต่อยุคสมัย เมื่อเปรียบเทียบการกำหนดผู้มีสิทธิรับประโยชน์ทดแทนกรณีดังกล่าวของไทยกับ ต่างประเทศจะพบว่าต่างประเทศกำหนดให้ผู้ที่มีสิทธิรับประโยชน์ทดแทนได้เป็นทายาทตามความ เป็นจริงไม่ใช่ตามกฎหมายเหมือนของประเทศไทยที่พระราชบัญญัติประกันสังคมกำหนดขึ้น อีกทั้งยังไม่เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในเรื่องของทายาท และมรดกอีกด้วย ทำ ให้ทายาทของผู้ประกันตนตามความเป็นจริงได้รับความเดือดร้อน ต้องไปศาล ไปหาหลักฐานมา ยืนยัน ซึ่งถือเป็นการซ้ำ เติมผู้เสียหาย มากกว่าการช่วยเหลือหรือบรรเทาความเดือดร้อน ทั้งที่เงินนั้น ส่วนหนึ่งเป็นเงินของผู้ประกันตนที่ถูกหักไว้ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ เมื่อจากไปจะให้ครอบครัว นำมาใช้จ่ายยังเป็นเรื่องยาก หรือหากไม่มีทายาทที่รู้เรื่องเงินนั้นก็จะตกเข้ากองทุนประกันสังคมไป โดยปริยาย ดังนั้นควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายประกันสังคม มาตรา 77 ให้บุตรบุญธรรมได้สิทธิ เช่นเดียวกับบุตรตามกฎหมายของผู้ประกันตน เนื่องจากการกำหนดข้อยกเว้นนั้น ไม่เป็นธรรมแก่ บุตรบุญธรรมของผู้ประกันตน ซึ่งไม่สอดคล้องตามกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 1627 กำหนดให้บุตรบุญธรรมย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมในฐานะบุตรผู้สืบสันดานen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectประกันสังคม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectกฎหมายประกันสังคม -- ไทยen_US
dc.subjectประกันกรณีชราภาพen_US
dc.subjectบำเหน็จบำนาญชราภาพ -- ไทยen_US
dc.titleปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรับสิทธิประโยชน์จากประกันสังคม กรณีศึกษา มาตรา 77en_US
dc.title.alternativeLegal issues about getting benefits from social security education of section 77en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objective of this research was to study the comparative problems and solutions to the problem of payment of benefits to the beneficiary of social security, a case study of Section 77 when the insured dies. It was found that the problems of payment of benefits in case of death and old age when the insured dies According to the Social Security 1990 amended (No. 4), 2015, the person who is entitled to benefit from such cases: it does not meet the true intent or purpose of Social Security and also not up to date. When comparing the eligibility of the beneficiary in such cases from Thailand and foreign countries, it is found that foreign countries designate those who are entitled to receive benefits as heirs, not along with the law of the Social Security Act stipulated. Moreover, it does not comply with the Civil and Commercial Code in regard to the heirs and inheritance as well causing the heirs of the insured to go to court to show evidence for the confirmation. This action is considered as the aggravation of a victim rather than the help or alleviation despite the fact that some of that money is the insured's money deducted while he or she is still alive. When the insured dies, it is difficult for the family to spend the money, or if there appears to be no heir who knows about the money, it will fall into the social security fund by default. Therefore, Section 77 of the Social Security Law should be amended to allow an adopted child to have the same rights as a child under the law of the insured. On account of the exception, it is unfair to an adopted child of the insured, which is inconsistent with the Civil and Commercial Law, Section 1627 which stipulates that an adopted child shall have the right of inheritance of the adopter as a descendanten_US
dc.description.degree-nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิติศาสตร์en_US
Appears in Collections:Law-Law-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SARINATCHA SASIPHATTANAKUL.pdf2.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.