Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1546
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สัญญพงศ์ ลิ่มประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | ฐิติญา รุ่งฟ้า | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-27T06:45:25Z | - |
dc.date.available | 2023-02-27T06:45:25Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1546 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เล่มนี้ศึกษาความเป็นมาโรคอุบัติใหม่ หลักและทฤษฎี กฎเกณฑ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อกรณีฉุกเฉินในโรคอุบัติใหม่ ในประเทศไทยและต่างประเทศ ตลอดจนวิเคราะห์และเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อกรณีฉุกเฉินในโรคอุบัติใหม่ โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ในรูปแบบการวิจัยทางเอกสาร โรคระบาดเป็นปัญหาที่คุกคามมนุษยชาติ รวมทั้งสังคมไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากทำให้ผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก และในปัจจุบันเมื่อได้พบการเกิดโรคระบาดครั้งยิ่งใหญ่คือ การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พบการระบาดไปทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่ใช้ในการควบคุมการป้องกันและแพร่ระบาดของโรคติดต่อกรณีฉุกเฉินในโรคอุบัติใหม่ คือ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 แต่กฎหมายที่นามาใช้รับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวนั้น กลับมาจากพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้ในการบริหารทางปกครอง ซึ่งเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ทำให้ต้องใช้เวลานานในการพิจารณาออกข้อบังคับฉบับต่างๆในแต่ละครั้ง เพื่อนำมาควบคุมสถานการณ์ อันทำให้ไม่สามารถป้องกัน ระงับ หรือควบคุมโรคติดต่อที่มีการระบาดอย่างรุนแรงให้ยุติหรือบรรเทาลงโดยเร็ว ผู้เขียนจึงเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติดังกล่าว โดยให้เพิ่มเติมอานาจในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข หรือคาสั่งฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขในพระราชบัญญัติ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน อำนาจในการตรวจสอบการกระทาจากการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน อานาจในการออกข้อบังคับเพื่อรับมือกับสถานการณ์โรคระบาดเป็นการเฉพาะตลอดจนกาหนดคานิยามเพื่อให้พระราชบัญญัติดังกล่าวบังคับใช้ได้อย่างครอบคลุมรวดเร็ว | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 | en_US |
dc.subject | โรคติดต่อ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | โรคติดต่ออุบัติใหม่ -- ไทย | en_US |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรณีฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 | en_US |
dc.title.alternative | Legal problems concerning the emergency prevention and control of emerging infectious diseases according to the communicable disease act, B.E.2558 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purposes of this study are to investigate the history of the emerging infectious diseases, principles and theories, as well as regulations and laws related to the prevention and control of the emerging infectious diseases in Thailand and other countries, as well as to propose a guideline for the prevention and control of the emerging infectious diseases. This study employed the qualitative research methods. The data were mainly from a review and analysis of related documents. Communicable diseases have been a serious threat to humanity for a long time since they are a major cause of death of a number of people around the globe. At present, many countries around the world have been suffering from the outbreak of coronavirus, or commonly known as covid-19. In Thailand, in order to prevent and control the outbreak of the novel emerging diseases, the Communicable Disease Act B.E. 2558 has been issued. Nevertheless, during the outbreak of the covid-19, instead of implementing such Act, the Emergency Decree on Public Administration in Emergency Situations, B.E. 2548 has been used instead. This has caused the delay in the issuance of regulations to control and alleviate the spread of the communicable diseases. Hence, this study recommends the amendment to the Act by adding the authority to declare public health emergency or public health orders, the committees involved in the declaration of the state of emergency, the authority in the issuance of restrictions and orders for the prevention of the communicable diseases, and a clear definition which would enable the Act to be enforced quickly. | en_US |
dc.description.degree-name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TITIYA ROONGFA.pdf | 2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.